BLOG BOARD_B
ติดต่อรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ Email: sale@soccersuck.com
แสดงความเห็น
1, 2, 3 ... 3457, 3458, 3459 ... 6407, 6408, 6409
ไปที่หน้า
GO
ชมรมคนรัก AKB48 & Nogizaka46 @ SOCCERSUCK
สมาชิก 184 คน, จำนวนคอมเมนต์ 96135
Description
ชมรมสำหรับพูดคุย แลกเปลี่ยน ข้อมูลของตระกูล48 แบบเจาะลึกชนิดพ่อแม่พวกเธอยังงง(ว่าพวกมรึงรู้กันได้ยังไง)

ระเบียบการชมรม

  • สมาชิกที่ต้องการเข้าร่วมชมรมให้กดปุ่ม join ที่อยู่ด้านบนของกระทู้
  • สมาชิกที่เข้าร่วมชมรมเสีย 10 แผล่บครั้งเดียวถาวร(หัวหน้าไม่เสีย)
  • สมาชิกที่เข้าร่วมแล้วเสีย 10 แผล่บจะได้รับการคืนหากหัวหน้ากดปฏิเสธไม่ให้ร่วมกลุ่ม
ผู้ตั้ง
ข้อความ
ออฟไลน์
แขวนสตั๊ด
Status:
เข้าร่วม: 11 Jul 2010
ตอบ: 40454 (บอร์ดเก่า 1401)
ที่อยู่: DD จงเจริ้ญ!!!
โพสเมื่อ: Sat Apr 08, 2017 17:36
Gangjjang พิมพ์ว่า:
เจอรูปนี้เข้าไปขอรับเทะมาเป็นแฟนเพิ่มนะครับ



Spoil
 
 


มองผ่านๆคิดว่ามะนาว

My Locker
ออฟไลน์
แข้งดัทช์ลีก
Status:
เข้าร่วม: 21 Sep 2007
ตอบ: 7724 (บอร์ดเก่า 1237)
ที่อยู่: ร้านขายเสื้อผ้าที่หัวใจโมนะอยู่ตรงนั้น
โพสเมื่อ: Sat Apr 08, 2017 17:43
Barcelonistu พิมพ์ว่า:


มองผ่านๆคิดว่ามะนาว  


ไม่เห็นเหมือนเลยครับ

Spoil
 

My Locker
ออฟไลน์
กำเนิดดาวรุ่ง
Status:
เข้าร่วม: 22 Oct 2012
ตอบ: 1112 (บอร์ดเก่า 218)
ที่อยู่: Anfield
โพสเมื่อ: Sat Apr 08, 2017 17:56
SilverCross พิมพ์ว่า:
wOrldwideweb พิมพ์ว่า:
2-3หน้าก่อนนี้คืออะไร ทำไมต้องล่อลวงกันแบบนี้ครับ  


พวกเธอจงโอชิมี่อง  


ถ้าทำกันถึงขนาดนี้แล้วละก็ ผมคงเปลี่ยนใจจากอ๊ปซือมินไม่ได้หรอกหรอกครับ
พอดีตามแต่คณะ46
My Locker
ออฟไลน์
ดาวซัลโวยุโรป
Status:
เข้าร่วม: 31 Jan 2014
ตอบ: 11616
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Sat Apr 08, 2017 17:58
ไปเจอบทความสัมพาษณ์ลุงแว่นในพันทิพมา อ่านแล้วชอบเลยแปลมาให้อ่านกัน
ในบทสัมภาษณ์ก็จะพูดถึงแนวคิดการทำงานของลุงแว่น มุมมองของแกต่อK-pop เรื่องของพารูรุ การออดิชั่นสุดแปลก แกได้แรงบันดารใจอะไรในการก่อตั้งAKB48 มีพูดถึงที่มาของโนกิกับเคยะด้วยนะ
อ่านแล้วไม่เข้าใจตรงไหนก็ถามได้นะครับ


เปิดใจอากิโมโต้ ยาสุชิ ชายผู้ไม่เคยหยุดคิดสิ่งใหม่ๆให้วงการบันเทิง


"ผมอยากเห็นในสิ่งที่ผมไม่เคยเห็นมาก่อน"

แม้ว่าอากิโมโต้ยาสุิชิจะเป็นโปรดิวเซอร์และนักแต่งเพลงให้กับ48Group แต่เค้ายังเป็นผู้นำสิ่งใหม่ๆมาสู่อุตสาหกรรมไอดอลอีกด้วย



อากิโมโต้ ยาสุชิถือกำเนิดที่โตเกียวในปี1958 สมัยยังเรียนอากิโมโต้เคยเขียนบทโทรทัศน์ให้รายการหลายรายการรวมถึงรายการ “The Best Ten” อันโด่งดังอีกด้วย ต่อมาในปี1983ชื่อของเค้าเริ่มกลายเป็นที่รู้จักจากการแต่งเพลง“Kawa no nagare no you ni” ให้กับ มิโซระ ฮิบาริ หลังจากนั้นอากิโมโต้ก็ได้แต่งเพลงฮิตติดลมบนมาอย่างต่อเนื่องอีกหลายเพลง
ปัจจุบันนี้เค้ารับบทโปรดิวเซอร์ของไอดอลแห่งชาติอย่างAKB48(รวมไปถึงโนกิซากะ46และเคยะกิซากะ46)

Kawa no nagare no you ni ได้รับการโหวตจากคนทั่วประเทศ(สำรวจโดยNHK)ว่าเป็นเพลงยอดเยี่ยมตลอดกาลของญี่ปุ่นในปี1997



Q: ในNikkei Businessฉบับพิเศษเล่มนี้เราจะมาคุยกันเรื่องความหมายของ “ไอดอล” กันสักหน่อย อากิโมโต้ซังครับ “ไอดอล” ในความหมายของคุณคืออะไรคับ

อากิโมโต้: ผมคิดว่าในช่วงหลายปีมานี้ไอดอลไม่ได้เปลี่ยนไปมากสักเท่าไร พูดกันตรงๆไอดอลและอุตสาหกรรมบันเทิงไม่ได้เปลี่ยนไปเลย ผมคิดว่าสิงที่เปลี่ยนคือแฟนๆที่เป็นผู้บริโภคสื่อต่างหาก ในมุมมองของผมวงการไม่มีอะไรเปลี่ยนไปเลย
แนวทางของผมคือผมจะทำในสิ่งที่ผมพอใจจะทำ แต่มันจะปังหรือพังก็อยู่ที่ผู้บริโภคในตอนนั้นต้องการอะไร ถ้าหากสิ่งที่ผมคิดกับสิ่งที่แฟนๆต้องการมันตรงกันพอดีเวลานั้นแหละคือเวลาที่ไอดอลกรุ๊ปนั้นจะดังระเบิด แต่ถ้าหากไอดอลกรุ๊ปนั้นไม่ได้เป็นไปอย่างที่หวัง ผู้คนก็จะเปรียบเทียบกับสิ่งที่เค้าคิดแล้วก็จะเริ่มคิดกันว่า “ไอดอลเปลี่ยนไปแล้วสินะ”
คุณอากุ ยูเคยบอกกับผมว่าตอนที่เครื่องวอร์คแมนเริ่มเข้ามามีบทบาท ตอนนั้นอุตสาหกรรมเพลงเปลี่ยนไปอย่างมาก ในสมัยก่อนหากคุณอยากฟังเพลงใหม่ๆ คุณก็ต้องไปแถวใจกลางเมืองที่เค้าชอบเปิดเพลงกันเพื่อไปฟังเพลงใหม่ๆแล้วก็ค่อยชอบมัน แต่ว่าตอนที่วอร์คแมนเริ่มดัง กลายเป็นว่าผู้คนเดินไปมาใส่หูฟังฟังแต่เพลงที่ตัวเองชอบ เพราะอย่างงี้ไงเพลงใหม่ๆถึงดังยาก

การตลาดไม่ใช่ทุกอย่าง

Q: เรารู้มาว่าคุณเชื่อว่าการสำรวจตลาดและความต้องการของผู้บริโภคไม่ใช่ทุกอย่าง ทำไมคุณถึงคิดยังงั้น?

อากิโมโต้: ตอนที่ผมเริ่มเขียนบทโทรทัศน์ตอน30 ผมมักจะเขียนโดยคิดในใจว่า “คนอยากดูอะไรในช่วงเวลาที่รายการนี้ฉาย” ผมว่ามันเป็นความคิดที่โง่จริงๆ วันนึงผมคิดได้ว่าผมก็เป็นแค่ผู้ชมธรรมดาคนนึงเหมือนกัน แทนที่จะเขียนบทให้คนที่ไม่รู้จักแล้วมานั่งเครียดว่าเค้าจะชอบไหม ผมว่าผมเขียนสิ่งที่ตัวเองซึ่งเป็นคนธรรมดาคนนึงเหมือนกันกำลังสนใจดีกว่า พอคิดได้ยังงี้ผมก็เลิกห่วงเรื่องเทรนด์และตลาดหันมาเขียนสิ่งที่ตัวเองชอบดีกว่า

เพลง “Nantetatte Idol(ยังไงฉันก็จะเป็นไอดอล)” คือเพลงสะท้อนความขัดแย้งของยุคก่อน

Q: ในปี 1985 ตอนที่เพลง “Nantetatte Idol” ของโคอิซุมิ เคียวโกะวางขาย เนื้อหาของเพลงเข้าใจง่ายและสะท้อนภาพลักษณ์ของไอดอลในสมัยก่อนได้อย่างชัดเจน คุณเห็นด้วยไหม?

อากิโมโต้: ตอนที่ผมเขียนเพลงนี้ ยุคนั้นเป็นยุคที่วงร๊อคบูมมากๆ ฮอนดะ มินาโกะตั้งวง Wild Cat ขึ้น ไอดอลคนอื่นๆก็เดินเข้ามาสู่โลกของวงร๊อคเช่นกัน สังคมในตอนนั้นมองไอดอลที่แต่งตัวน่ารักๆเต้นแบ๊วๆว่าไม่เท่ห์ เพราะฉะนั้นตอนที่ผมเขียนเพลง“Nantetatte Idol”ผมต้องการจะสื่อสิ่งที่ขัดแย้งกับความคิดคนยุคนั้นว่า “เป็นไอดอลมันไม่เท่ห์ตรงไหน?” ผมว่าถ้าผมเขียนเพลงตามเทรนด์ตอนนั้นเพลงที่ผมเขียนคงอยู่ได้ไม่นาน

สังคมมักจะสงสารเด็กธรรมดาที่พยายามจะโด่งดัง

Q: ในช่วงเวลาใกล้ๆกันตอนที่วงOnyanko Club เดบิ้ว(ในปี 1985) พวกเธอเป็นไอดอลที่ไม่เคยมีมาก่อน ทำไมพวกเธอถึงโด่งดังในหมู่คนทั่วไปได้?

อากิโมโต้: ตอนที่ผมตัดสินใจเริ่มคิดทำวงนี้ผมได้ความคิดมาจากตอนที่MCประกาศบนเวทีว่า”นิตตะ เอริจังไม่สามารถมาร่วมรายการได้ เนื่องจากติดสอบมิดเทอม”
ในสมัยก่อนถ้าคุณคิดถึงไอดอล คุณก็จะนึกถึงภาพเด็กสักคนไปเรียนร้องเพลงและเต้นที่สถาบันโฮริชิโกะ เด็กพวกนี้ไม่ได้เรียนในโรงเรียนปกติซึ่งมันก็ดูเท่ห์ดีในสมัยนั้น อีกแง่นึงก็คือไอดอลคือผู้ที่รับเลือกให้เป็นคนพิเศษ ซึ่งในยุค80คือยุคที่อุตสาหกรรมบันเทิงมาถึงจุดสูงสุดทำให้ผู้คนมากมายอยากเข้ามาในวงการ
แต่ตอนที่ยามากุจิ โมโมเอะซังออกจากวงการและวง Candies ยุบวง ผมว่าตอนนั้นคนเริ่มคิดกันแล้วว่า “การอยู่ในจุดสูงสุดของวงการมานานมันดีขนาดนั้นเลยหรอ?” แต่ตอนนั้นคนส่วนใหญ่ก็ยังมองว่าวงการบันเทิงคือโลกในฝันที่สวยหรูอยู่ ต่อมาเด็กๆส่วนใหญ่เลือกที่จะไปสอบมิดเทอมมากกว่าไปออกทีวีซะงั้น ผมคิดว่านี่แหละคือก้าวใหม่ของไอดอลเลยนะ

จะเดบิ้วอะไรก็ต้องดูว่าผู้คนกำลัง “โหยหา” สิ่งไหน

อากิโมโต้: สมัยผมยังเด็ก ผมชอบไปคณะกายกรรมโชว์ที่โรงละครมาก ได้เห็นพวกเค้าเริ่มเติบใหญ่ขึ้นเรื่อยๆจากโรงละครเล็กๆค่อยๆขยายใหญ่ขึ้น ตอนนั้นผมคิดว่า “สุดยอดจริงๆที่ได้เห็นการเติบโตของพวกเขา” ตอนแรกผมกะว่าจะทำโรงละครสำหรับคณะกายกรรมแบบเดียวกันที่แถวๆฮาราจูกุและอาโอยาม่า แต่หาเท่าไรก็ไม่เจอที่เหมาะๆสักที หาไปหามาก็มาเจอที่เหมาะๆแถวอากิฮาบาร่านี่แหละ แต่ถ้าเราเปิดโรงละครสำหรับคณะกายกรรมที่นี่คงไม่เหมาะ ผมว่าทำวงไอดอลคงน่าจะเป็นที่สนใจในแถบนี้มากกว่า ดังนั้นในปี2005ผมจึงตัดสินใจสร้างAKB48ขึ้นมา
ตอนที่สร้างวงผมไม่ได้สนใจการตลาดหรือความต้องการของผู้บริโภคเท่าไรนักหรอก ดังนั้นผมเลยเจอเสียงต่อต้านมามากมายจากหลายฝ่าย แต่ในหัวผมตอนนั้นคิดแต่ว่า “ไอดอลที่แสดงทุกวันเพื่อที่คุณจะได้เห็นการเติบโตของพวกเธอ น่าสนุกจะตาย”
ในตอนนั้นการโหลดเถื่อนกำลังเป็นที่แพร่หลาย ผมเลยต้องหาทางเพื่อให้วงอยู่รอดซึ่งการแสดงสดเนี่ยแหละคือทางรอด
พอเปิดตัวไปในเดือนธันวาปี2005ต่อมาในเดือนกุมภาพันธุ์ปีต่อมาตั๋วเธียเตอร์ก็ขายหมดเกลี้ยง การพูดกันปากต่อปากในอินเตอร์เน็ตมันลุกลามไปเร็วจริงๆ ชาวเน็ตพูดกันว่า “เราเจออะไรเจ๋งๆมาด้วยแหละ” พวกเค้าพูดเหมือนเจอฐานทัพลับยังไงยังงั้นเลย
ในยุคนี้มันไม่มีสูตรสำเร็จในการปั้นไอดอลวงนึงให้โด่งดังขึ้นมาหรอกนะ สิ่งที่สำคัญคือการนำเสนอสิ่งที่สังคมกำลังต้องการ มันก็เหมือนการเสิร์ฟแกงกระหรี่เนื้อทอดให้กับนักเบสบอลที่เพิ่งซ้อมเสร็จนั่นแหละ สิ่งนี้แหละที่เป็นตัวตัดสินว่าวงไหนจะรุ่งหรือร่วง ผมคิดว่าสิ่งที่วงOnyankoเติมเต็มให้กับสังคมในตอนนั้นก็คือความที่วงเป็นมือสมัครเล่นที่ไม่ได้เก่งกาจอะไร ในปัจจุบันนี้ผมว่าสิ่งที่AKB48เติมเต็มให้กับสังคมก็คือความรู้สึกเห็นใจให้ไอดอลที่ค่อยๆพัฒนาตัวเองขึ้นมา




Q: ภาพลักษณ์ของไอดอลที่สังคมต้องการเป็นแบบไหนครับ?

อากิโมโต้: เอาจริงๆผมก็ไม่รู้เหมือนกันนะ
ผมว่าความคิดของคนส่วนใหญ่ก็คงอยากเห็นสิ่งที่ไม่เคยเห็นมาก่อน ไม่ว่าจะผ่านไปกี่ยุคกี่สมัยผู้คนก็ยังคิดแบบนี้ ยกตัวอย่างตอนที่ผมสร้างโนกิซากะ46ที่เป็นวงคู่แข่งของAKB ในโลกไอดอลไม่มีใครเค้าทำแบบนี้หรอก อีกตัวอย่างก็คือตอนที่เคยะกิซากะเปิดตัวอย่างงดงามด้วยเพลง Silent Majority แม้ว่าเนื้อหาของเพลงนี้มันค่อนข้างรุนแรง แต่ผมว่าที่มันดังเพราะคนอยากเห็นในสิ่งที่เค้าไม่เคยเห็นมาก่อน
ตอนแรกผมตั้งใจจะเอาเพลงSilent Majorityไปเป็นเพลงประกอบโฆษณา ตอนนั้นมีคนมาขอให้ผมแต่งเพลงที่มีเนื้อหาน่ารักสดใส แต่แต่งไปแต่งมาไม่รู้ทำไมมันถึงออกมาคนละขั้วแบบนี้ แต่ในใจผมคิดว่าเพลงนี้มันเจ๋งดี มันเหมือนตอนนี้สังคมต้องการอะไรเค็มๆบ้างหลังการที่เสพรสหวานมานานคุณคิดเหมือนผมไหม?


มี 2 Partนะ
แก้ไขล่าสุดโดย Barakamon เมื่อ Sat Apr 08, 2017 18:48, ทั้งหมด 1 ครั้ง


อยู่กับสิ่งที่มี ไม่ใช่สิ่งที่ฝัน........



My Locker
ออฟไลน์
นักบอลถ้วย ง.
Status:
เข้าร่วม: 14 Aug 2012
ตอบ: 5990 (บอร์ดเก่า 4423)
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Sat Apr 08, 2017 18:02
Gangjjang พิมพ์ว่า:
เจอรูปนี้เข้าไปขอรับเทะมาเป็นแฟนเพิ่มนะครับ



Spoil
 
 


ไม่ได้หรอกครับเพราะน้องเป็นแฟนเราแล้ว
My Locker
ออฟไลน์
ดาวซัลโวยุโรป
Status:
เข้าร่วม: 31 Jan 2014
ตอบ: 11616
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Sat Apr 08, 2017 18:04
Part 2

Q: คุณคิดว่าสิ่งที่สำคัญที่สุดในการสร้างไอดอลคืออะไร? ตอนไหนที่คุณรู้สึกตัวว่าสิ่งนี้มันน่าสนใจ? คุณใช้บรรทัดฐานอะไรในการตัดสินใจ?

อากิโมโต้: ผมมักจะบอกบรรดาสต๊าฟเสมอว่าอย่าไปยึดติดกับความคิดเดิมๆ คนมักจะไม่ค่อยสนสิ่งที่เคยเห็น,เคยฟัง หรือเข้าใจมันแล้ว ตอนที่คนเริ่มตั้งคำถามว่า “นี่มันอะไรวะเนี่ย?” นั่นแสดงว่าเค้าเริ่มให้ความสนใจแล้ว
พอผมพูดแบบนี้ คนก็จะเริ่มคิดว่า “อากิโมโต้จะทำอะไรแผลงๆอีกแล้วสินะ” ผมอยากพวกคุณว่ามันไม่ใช่ยังงั้นนะ ผมแค่อยากก้าวข้ามกำแพงที่บอกว่า “ไอดอลทำแบบนี้ไม่ได้” แล้วก็ “ไอดอลไม่ควรทำแบบนี้” โดยการฉีกกรอบเดิมๆ
มีตัวอย่างอยู่หลายเรื่อง ครั้งนึงตอนที่AKBเพิ่งเริ่มต้น ผมได้รับรายงานว่ามีเมมเบอร์ข้อเท้าเคล็ด เราเลยให้เธอหยุดพัก พอเราถามเธอว่า “ซวยชะมัด เจ็บมากไหม?” เธอบอกว่าไม่เจ็บเท่าไรยังเดินไหว แต่ถ้าเต้นจะเจ็บมาก
ผมก็เลยบอกว่าให้เอาเก้าอี้ขึ้นไปบนเวทีไหม นั่งไปร้องเพลงไปก็ได้ ที่ผมพูดยังงั้นเพราะว่าไม่เคยมีใครทำแบบนี้มาก่อน นี่ต้องเป็นความทรงจำที่ล้ำค่าสำหรับแฟนๆแน่นอน เราอยากทลายกำแพงที่ว่า “เมมเบอร์ที่บาดเจ็บจะขึ้นแสดงไม่ได้”

การออดิชั่นสุดแปลก

มีตัวอย่างชัดๆอยู่เคสนึงคือชิมาซากิ ฮารุกะผู้ที่โด่งดังเพราะความเย็นชาต่อแฟนๆของเธอ ผมได้ยินจากสต๊าฟมาว่าเธอเป็นคนที่นิสัยดีมากๆ แต่ความคิดของเธอที่มีต่อแฟนๆดูจะไม่ค่อยดีเท่าไร จนเมมเบอร์บางคนเริ่มเข้าใจเธอผิด พวกสต๊าฟมาบอกให้ผมไปดุเธอบ้าง แต่ผมคิดว่าไอดอลที่ไม่ได้พยายามเอาใจแฟนๆมันก็ดูน่าสนุกดี ไม่ได้เสียหายอะไร มีเมมเบอร์แบบนี้ก็ดีเหมือนกัน
การออดิชั่นของAKBจะไม่เหมือนชาวบ้านชาวช่องสักเท่าไร ถ้าออดิชั่นแบบธรรมดาทั่วไปกรรมการจะเรียกผู้สมัครทีละ2-3คนในแต่ละรอบ จากนั้นก็ให้คะแนนพวกเธอจากหน้าตา,การแสดงออกอะไรประมาณนั้น แต่เราใช้ระบบที่ต่างออกไป ถ้าหากกรรมการสักคนนึงโพล่งออกมาว่า “ผมชอบเด็กคนนี้” แล้วทุกคนร้อง “เอ๋----!?” เธอคนนั้นจะผ่าน เหตุผลที่ทำแบบนี้เพราะว่าแฟนๆก็คงรู้สึกต่อเด็กคนนี้แบบเดียวกันกับพวกเรา จากนั้นก็จะเริ่มเกิดความเห็นอกเห็นใจ แต่ถ้าเรารับคนที่เก่งแทบทุกด้าน พอมาถึงจุดนึงเราจะเจอสถานการณ์ที่ทุกคนเท่ากันหมด

ทฤษฎีน้ำคาลพิสบริสุทธิ์


Q: คุณใช้วิธีอะไรในการสร้างโมเดลธุกิจให้AKB48?

อากิโมโต้: ผมไม่ค่อยรู้เรื่องธุรกิจเท่าไรหรอกนะ แต่ผมรู้ว่าเราคงแพ้แน่หากเราทำเหมือนๆกับที่คนอื่นเค้าทำมาแล้ว ดังนั้นผมเลยไม่ทำแบบคนอื่น ถ้าหากเรายังคิดอะไรใหม่ๆไม่ออกเราก็ควรจะอดทนไว้ มันคงง่ายเกินไปหากทุกอย่างหมุนรอบตัวเรา ตั้งแต่เริ่มทำAKBใหม่ๆผมมักจะบอกกับสต๊าฟว่า “จงทำตัวให้เหมือนน้ำคาลพิสบริสุทธ์” เพราะว่าน้ำคาลพิสบริสุทธ์สามารถเอาไปทำได้หลายอย่างเช่นไอศครีมไปจนถึงลูกอม
ผมอยากให้ไอดอลเปิดกว้างมากกว่านี้ ผมคิดถึงน้ำคาลพิสบริสุทธิ์เพราะใครๆก็เอาไปใช้ประโยชน์ได้ เมื่อมีคนเอาไปใช้ประโยชน์และยังมีคนอยากซื้อคาลพิสธุรกิจมันก็ยังเติบโตต่อไปได้ หากวันนึงผมหมดไอเดียก็จะมีคนนำเสนอเดียใหม่ๆเข้ามาแทน

Q: โมเดลธุรกิจของคุณดูเหมือนจะตรงข้ามกับค่ายจอห์นนี่แบบสุดๆ พวกเค้าไม่เคยผ่อนปรนเรื่องลิขสิทธิ์เลยและพวกเขายังเข้มงวดมากเรื่องการกระจายสินค้าดิจิตัลที่เกี่ยวกับภาพลักษณ์ของพวกเค้า

อากิโมโต้: นั่นก็เพราะว่าพวกเค้าผลิตวงที่เป็นมืออาชีพไง ในขณะที่AKB Groupเป็นวงที่มีแต่พวกมือสมัครเล่น จุดแข็งของการเอามือสมัครเล่นมาใช้คือพวกเธอเป็นไอดอลที่เปิดกว้าง ยังไงก็ได้
เมื่อตอนที่โซเชี่ยลเน็ตเวิร์คกลายเป็นเรื่องปกติ มีความเห็นมากมายว่าเราไม่ควรให้ไอดอลใช้โซเชี่ยลแบบอิสระมากเกินไป แต่ผมคิดว่าเราควรทลายกำแพงความคิดนั้นเช่นกันเพราะยังงี้เราเลยให้เมมเบอร์ใช้โซเชี่ยลเน็ตเวิร์คได้เต็มที่ เมมเบอร์อาจจะโดนฟลัดคอมเม้นแต่นี่เป็นเรื่องปกติถ้าเราไม่ได้เข้มงวดกับมันมากนัก ผมคิดว่ามันเป็นเครื่องมือที่ดีมากเลยนะในการเรียนรู้ตัวเองและเข้าใจการเติบโตของตัวเราในโลกจริง

จงมั่นใจใน “ทฤษฏีกาลาปากอส”

Q: ผมขอถามอีกนิดเกี่ยวกับการขยายสาขาของAKBในต่างประเทศสักหน่อย คุณขยายสาขาไปที่เซี่ยงไฮ้และอินโดนีเซียมาแล้ว ต่อไปคุณวางแผนไปที่ประเทศไทย,ไทเป และฟิลิปปินส์ คุณคิดว่าอะไรคือจุดแข็งของวัฒนธรรมไอดอลญี่ปุ่นที่สามารถเติบโตได้ในต่างแดน

อากิโมโต้: มันก็เหมือน “ทฤษฏีกาลาปากอส” นั่นแหละ
ในช่วงปี1980ผมอยากจะสร้างหนังสักเรื่องนึง ผมเลยไปที่อเมริกาและวางแผนจะทำหนังที่นั่น แต่ว่าผมโดนปฏิเสธแบบไร้เยื่อไย ตอนนั้นผมได้รู้ว่าการทำหนังในต่างแดนมันเป็นเรื่องที่เป็นไม่ได้จริงๆ ผมกลับมาที่ญี่ปุ่นพร้อมกับความคิดที่ว่าโลกมันเป็นเหมือนราวกั้นที่สูงลิบที่ไม่มีทางกระโดดข้ามไปได้
หลังจากนั้นผมได้สร้างหนังสยองขวัญที่ญี่ปุ่นชื่อเรื่อง “Chakushin Ari” [One Missed Call] ซึ่งต่อมาผมก็ได้รับข้อเสนอจากอเมริกา พวกเค้าอยากเอาหนังของผมไปรีเมค มันกลายเป็นว่าสิ่งที่พวกเค้าต้องการจริงๆคือ “หนังสยองขวัญแบบญี่ปุ่น”
พูดง่ายๆก็เหมือนกับอนิเมะกับการ์ตูนดิสนี่ย์ที่ไม่เหมือนกันนั่นแหละ ทั่วโลกต่างก็มีคอนเซปไอดอลที่แตกต่างกันออกไป เราแค่สร้างสิ่งที่เราพอใจก็พอแล้ว ผมคิดว่านี่แหละคือจุดแข็งของไอดอลญี่ปุ่น เพราะเหตุนี้เวลาที่คนทั่วโลกมาเห็นวัฒนธรรมญี่ปุ่นพวกเค้าก็จะตกใจ ดีใจ และตะโกนว่า “นี่มันอะไรกันเนี่ย?!” และต้องขอบคุณอินเตอร์เน็ตที่ทำให้วัฒนธรรมญี่ปุ่นเผยแพร่ได้อย่างเร็วมากๆ
ฉะนั้นเมื่อวัฒนธรรมญี่ปุ่นไปยังต่างประเทศ บางอย่างก็ต้องปรับเปลี่ยนให้เข้ากับคนท้องถิ่น แต่ผมว่าเราไม่ควรที่จะเปลี่ยนรากฐานของวัฒนธรรมนะ ยกตัวอย่างเช่น ถ้าคุณเอากลิ่นและความเหนียวหนืดของนัตโตะออกเพื่อไปขายในต่างประเทศ นั่นก็ไม่ใช่นัตโตะอีกต่อไป นัตโตะมันอร่อยเพราะว่ามันเป็นนัตโตะ นี่เป็นสิ่งสำคัญที่ต้องมานั่งคิดหากว่าเราอยากจะทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งให้เป็นสากลทั่วโลก ทุกวันนี้ความสนใจในวัฒนธรรมญี่ปุ่นมีมากขึ้นทุกวัน เราต้องมั่นใจในวัฒนธรรมของเรา

Q: หากลองมองไปทั่วเอเชีย K-popของเกาหลียิ่งใหญ่กว่าJ-popเป็นอย่างมาก

อากิโมโต้: K-popนี่มันเป็นนโยบายระดับชาติเลยไม่ใช่หรอ? นี่มันเป็นกลยุทธในการเผยแพร่วัฒนธรรมที่ประสบความสำเร็จอย่างมาก ยกตัวอย่างที่เวียดนาม K-popเป็นที่นิยมอย่างมากที่นั่น เพราะฉะนั้นเครื่องสำอางของเกาหลีและคอมพิวเตอร์ของLGก็ขายดีตามไปด้วย
ทางญี่ปุ่นเองก็พยายามเผยแพร่วัฒนธรรมญี่ปุ่นผ่านโครงการที่ชื่อ “Cool Japan” เหมือนกัน แต่ถ้าหากเทียบกับฝั่งเกาหลีนโยบายของเราดูอ่อนแอกว่า ผมคิดว่าหน่วยงานของเรายังไม่มีความรู้มากพอในการเผยแพร่วัฒนธรรมแบบของเกาหลี ผมกลัวว่าหน่วยงานส่วนใหญ่ของญี่ปุ่นไม่ค่อยเห็นค่าเรื่องความสำคัญของซอฟแวร์เท่าไรนัก พวกเค้ามักสนใจเรื่องสเป็คของฮาร์ดแวร์มากกว่า ตัวอย่างเช่นทีวีของเราสามารถดูได้ในระดับความคมชัด4kและ8k เรามักเอาจุดนี้มาโฆษณา แต่สิ่งที่สำคัญจริงๆคือเราจะเอาทีวี4kกับ8kมาดูอะไร? เพราะฉะนั้นซอฟแวร์จึงเป็นสิ่งสำคัญ
ตอนที่นินเทนโด้วางขายเครื่องซุปเปอร์แฟมิคอม ใครๆก็อยากได้เครื่องมาเล่นมาริโอ้ เพราะยังงี้คนเลยแห่กันไปซื้อเครื่อง ถ้าหากคุณคิดเรื่องซอฟแวร์ก่อน ฮาร์ดแวร์ก็จะเปลี่ยนตัวเองเพื่อให้เข้ากับซอฟแวร์ได้

Q: อดีตไอดอลคนนึงเคยพูดไว้ว่ายิ่งยิ่งอุตสาหกรรมไอดอลเติบโตขึ้นเท่าไร คนยิ่งรักไอดอลมากขึ้น สังคมก็ยิ่งแข็งแรงมากขึ้นเท่านั้น จากมุมมองของคุณคุณคิดว่าไอดอลส่งผลกระทบอะไรต่อสังคมและเศรษฐกิจของญี่ปุ่นบ้าง?

อากิโมโต้: คำถามนี้ยากแฮะ ผมก็ไม่รู้จะตอบยังไงเหมือนกัน เอาจริงๆผมไม่ได้คิดเรื่องพวกนี้มากมายนักอย่างที่ทุกคนเข้าใจกันหรอก สิ่งที่ผมกำลังทำเหมือนการตกปลาโดยใช้จิตสัมผัสว่าปลาอยู่ตรงไหน พวกนักวิชาการกับนักข่าวพยายามช่วยผมโดยการพยายามอธิบายและวิเคราะห์เรื่องพวกนี้ในเชิงวิชาการ แต่จริงๆแล้วผมไม่ได้มีวิธีการอะไรชัดเจนในการจะลงมือทำอะไรแต่ละอย่าง
เมื่อวานนี้มีคนมาถามผมว่าผมคิดยังไงกับแผนธุรกิจในอนาคต เอาจริงๆผมก็ไม่รู้เหมือนกัน ผู้คนมักจะคิดว่าผมเป็นผู้เชี่ยวชาญ แต่ในความเป็นจริงคือผมไม่รู้อะไรเลย
สิ่งนึงที่ผมพูดได้เกี่ยวกับเรื่องเศรษฐกิจก็คือสิ่งที่ผมพูดไปก่อนหน้านี้แล้วว่าถ้าหากเราจะสร้างฮาร์ดแวร์ใหม่ๆ เราก็ควรเริ่มที่ซอฟแวร์ก่อน
ผมได้ยินหลายๆคนบอกว่าอยากจะสร้างเทคโนโลยีต่างๆให้VRและแอปต่างๆในสมาร์ทโฟน เวลาที่ผมได้ยินคนพูดแบบนี้ผมจะรู้สึกว่าทำไมไม่พูดก่อนที่ของพวกนี้จะสร้างเสร็จ เพื่อที่เวลาของพวกนี้สร้างเสร็จมันจะได้รับรองสิ่งที่พวกคุณคิดได้พอดี มันเหมือนกับเวลาใครสักคนทำอาหารนั่นแหละ คนกินไม่ได้คาดหวังเรื่องกระบวนการทำ คนจะสนใจสิ่งที่เอามาเสิร์ฟต่างหาก สิ่งที่เราต้องทำเดี๋ยวนี้ไม่ใช่มัวมาสนใจว่าอาหารเหมาะกับจานรึปล่าว เราต้องการอาหารที่อร่อย ผมรู้สึกว่าการที่เรามัวแต่สนใจเรื่องจานมากไปมันจะทำให้เรามองผิดจุด ตอนนี้วัฒธรรมญี่ปุ่นกำลังเผยแพร่ไปทั่วโลกผ่านทางโครงการ Cool Japan ผมว่าหน่วยงานรัฐควรจะสนใจให้มันถูกจุดได้แล้ว


และสำหรับคนไทยที่มีอายุหน่อย คงจะคุ้นเคยกันดีกับเพลงนี้ “Kimiga ireba sorede ii” ซึ่งก็เป็นเพลงที่อากิพีเป็นคนแต่งเนื้อร้อง
แก้ไขล่าสุดโดย Barakamon เมื่อ Sat Apr 08, 2017 18:49, ทั้งหมด 1 ครั้ง


อยู่กับสิ่งที่มี ไม่ใช่สิ่งที่ฝัน........



My Locker
ออฟไลน์
แข้งดัทช์ลีก
Status:
เข้าร่วม: 21 Sep 2007
ตอบ: 7724 (บอร์ดเก่า 1237)
ที่อยู่: ร้านขายเสื้อผ้าที่หัวใจโมนะอยู่ตรงนั้น
โพสเมื่อ: Sat Apr 08, 2017 18:11
Spoil
Barakamon พิมพ์ว่า:
ไปเจอบทความสัมพาษณ์ลุงแว่นในพันทิพมา อ่านแล้วชอบเลยแปลมาให้อ่านกัน
ในบทสัมภาษณ์ก็จะพูดถึงแนวคิดการทำงานของลุงแว่น มุมมองของแกต่อK-pop เรื่องของพารูรุ การออดิชั่นสุดแปลก แกได้แรงบันดารใจอะไรในการก่อตั้งAKB48 มีพูดถึงที่มาของโนกิกับเคยะด้วยนะ
อ่านแล้วไม่เข้าใจตรงไหนก็ถามได้นะครับ


เปิดใจอากิโมโต้ ยาสุชิ ชายผู้ไม่เคยหยุดคิดสิ่งใหม่ๆให้วงการบันเทิง


"ผมอยากเห็นในสิ่งที่ผมไม่เคยเห็นมาก่อน"

แม้ว่าอากิโมโต้ยาสุิชิจะเป็นโปรดิวเซอร์และนักแต่งเพลงให้กับ48Group แต่เค้ายังเป็นผู้นำสิ่งใหม่ๆมาสู่อุตสาหกรรมไอดอลอีกด้วย



อากิโมโต้ ยาสุชิถือกำเนิดที่โตเกียวในปี1958 สมัยยังเรียนอากิโมโต้เคยเขียนบทโทรทัศน์ให้รายการหลายรายการรวมถึงรายการ “The Best Ten” อันโด่งดังอีกด้วย ต่อมาในปี1983ชื่อของเค้าเริ่มกลายเป็นที่รู้จักจากการแต่งเพลง“Kawa no nagare no you ni” ให้กับ มิโซระ ฮิบาริ หลังจากนั้นอากิโมโต้ก็ได้แต่งเพลงฮิตติดลมบนมาอย่างต่อเนื่องอีกหลายเพลง
ปัจจุบันนี้เค้ารับบทโปรดิวเซอร์ของไอดอลแห่งชาติอย่างAKB48(รวมไปถึงโนกิซากะ46และเคยะกิซากะ46)

Kawa no nagare no you ni ได้รับการโหวตจากคนทั่วประเทศ(สำรวจโดยNHK)ว่าเป็นเพลงยอดเยี่ยมตลอดกาลของญี่ปุ่นในปี1997



Q: ในNikkei Businessฉบับพิเศษเล่มนี้เราจะมาคุยกันเรื่องความหมายของ “ไอดอล” กันสักหน่อย อากิโมโต้ซังครับ “ไอดอล” ในความหมายของคุณคืออะไรคับ
อากิโมโต้: ผมคิดว่าในช่วงหลายปีมานี้ไอดอลไม่ได้เปลี่ยนไปมากสักเท่าไร พูดกันตรงๆไอดอลและอุตสาหกรรมบันเทิงไม่ได้เปลี่ยนไปเลย ผมคิดว่าสิงที่เปลี่ยนคือแฟนๆที่เป็นผู้บริโภคสื่อต่างหาก ในมุมมองของผมวงการไม่มีอะไรเปลี่ยนไปเลย
แนวทางของผมคือผมจะทำในสิ่งที่ผมพอใจจะทำ แต่มันจะปังหรือพังก็อยู่ที่ผู้บริโภคในตอนนั้นต้องการอะไร ถ้าหากสิ่งที่ผมคิดกับสิ่งที่แฟนๆต้องการมันตรงกันพอดีเวลานั้นแหละคือเวลาที่ไอดอลกรุ๊ปนั้นจะดังระเบิด แต่ถ้าหากไอดอลกรุ๊ปนั้นไม่ได้เป็นไปอย่างที่หวัง ผู้คนก็จะเปรียบเทียบกับสิ่งที่เค้าคิดแล้วก็จะเริ่มคิดกันว่า “ไอดอลเปลี่ยนไปแล้วสินะ”
คุณอากุ ยูเคยบอกกับผมว่าตอนที่เครื่องวอร์คแมนเริ่มเข้ามามีบทบาท ตอนนั้นอุตสาหกรรมเพลงเปลี่ยนไปอย่างมาก ในสมัยก่อนหากคุณอยากฟังเพลงใหม่ๆ คุณก็ต้องไปแถวใจกลางเมืองที่เค้าชอบเปิดเพลงกันเพื่อไปฟังเพลงใหม่ๆแล้วก็ค่อยชอบมัน แต่ว่าตอนที่วอร์คแมนเริ่มดัง กลายเป็นว่าผู้คนเดินไปมาใส่หูฟังฟังแต่เพลงที่ตัวเองชอบ เพราะอย่างงี้ไงเพลงใหม่ๆถึงดังยาก

การตลาดไม่ใช่ทุกอย่าง

Q: เรารู้มาว่าคุณเชื่อว่าการสำรวจตลาดและความต้องการของผู้บริโภคไม่ใช่ทุกอย่าง ทำไมคุณถึงคิดยังงั้น?
อากิโมโต้: ตอนที่ผมเริ่มเขียนบทโทรทัศน์ตอน30 ผมมักจะเขียนโดยคิดในใจว่า “คนอยากดูอะไรในช่วงเวลาที่รายการนี้ฉาย” ผมว่ามันเป็นความคิดที่โง่จริงๆ วันนึงผมคิดได้ว่าผมก็เป็นแค่ผู้ชมธรรมดาคนนึงเหมือนกัน แทนที่จะเขียนบทให้คนที่ไม่รู้จักแล้วมานั่งเครียดว่าเค้าจะชอบไหม ผมว่าผมเขียนสิ่งที่ตัวเองซึ่งเป็นคนธรรมดาคนนึงเหมือนกันกำลังสนใจดีกว่า พอคิดได้ยังงี้ผมก็เลิกห่วงเรื่องเทรนด์และตลาดหันมาเขียนสิ่งที่ตัวเองชอบดีกว่า

เพลง “Nantetatte Idol(ยังไงฉันก็จะเป็นไอดอล)” คือเพลงสะท้อนความขัดแย้งของยุคก่อน

Q: ในปี 1985 ตอนที่เพลง “Nantetatte Idol” ของโคอิซุมิ เคียวโกะวางขาย เนื้อหาของเพลงเข้าใจง่ายและสะท้อนภาพลักษณ์ของไอดอลในสมัยก่อนได้อย่างชัดเจน คุณเห็นด้วยไหม?
อากิโมโต้: ตอนที่ผมเขียนเพลงนี้ ยุคนั้นเป็นยุคที่วงร๊อคบูมมากๆ ฮอนดะ มินาโกะตั้งวง Wild Cat ขึ้น ไอดอลคนอื่นๆก็เดินเข้ามาสู่โลกของวงร๊อคเช่นกัน สังคมในตอนนั้นมองไอดอลที่แต่งตัวน่ารักๆเต้นแบ๊วๆว่าไม่เท่ห์ เพราะฉะนั้นตอนที่ผมเขียนเพลง“Nantetatte Idol”ผมต้องการจะสื่อสิ่งที่ขัดแย้งกับความคิดคนยุคนั้นว่า “เป็นไอดอลมันไม่เท่ห์ตรงไหน?” ผมว่าถ้าผมเขียนเพลงตามเทรนด์ตอนนั้นเพลงที่ผมเขียนคงอยู่ได้ไม่นาน

สังคมมักจะสงสารเด็กธรรมดาที่พยายามจะโด่งดัง

Q: ในช่วงเวลาใกล้ๆกันตอนที่วงOnyanko Club เดบิ้ว(ในปี 1985) พวกเธอเป็นไอดอลที่ไม่เคยมีมาก่อน ทำไมพวกเธอถึงโด่งดังในหมู่คนทั่วไปได้?
อากิโมโต้: ตอนที่ผมตัดสินใจเริ่มคิดทำวงนี้ผมได้ความคิดมาจากตอนที่MCประกาศบนเวทีว่า”นิตตะ เอริจังไม่สามารถมาร่วมรายการได้ เนื่องจากติดสอบมิดเทอม”
ในสมัยก่อนถ้าคุณคิดถึงไอดอล คุณก็จะนึกถึงภาพเด็กสักคนไปเรียนร้องเพลงและเต้นที่สถาบันโฮริชิโกะ เด็กพวกนี้ไม่ได้เรียนในโรงเรียนปกติซึ่งมันก็ดูเท่ห์ดีในสมัยนั้น อีกแง่นึงก็คือไอดอลคือผู้ที่รับเลือกให้เป็นคนพิเศษ ซึ่งในยุค80คือยุคที่อุตสาหกรรมบันเทิงมาถึงจุดสูงสุดทำให้ผู้คนมากมายอยากเข้ามาในวงการ
แต่ตอนที่ยามากุจิ โมโมเอะซังออกจากวงการและวง Candies ยุบวง ผมว่าตอนนั้นคนเริ่มคิดกันแล้วว่า “การอยู่ในจุดสูงสุดของวงการมานานมันดีขนาดนั้นเลยหรอ?” แต่ตอนนั้นคนส่วนใหญ่ก็ยังมองว่าวงการบันเทิงคือโลกในฝันที่สวยหรูอยู่ ต่อมาเด็กๆส่วนใหญ่เลือกที่จะไปสอบมิดเทอมมากกว่าไปออกทีวีซะงั้น ผมคิดว่านี่แหละคือก้าวใหม่ของไอดอลเลยนะ

จะเดบิ้วอะไรก็ต้องดูว่าผู้คนกำลัง “โหยหา” สิ่งไหน

อากิโมโต้: สมัยผมยังเด็ก ผมชอบไปคณะกายกรรมโชว์ที่โรงละครมาก ได้เห็นพวกเค้าเริ่มเติบใหญ่ขึ้นเรื่อยๆจากโรงละครเล็กๆค่อยๆขยายใหญ่ขึ้น ตอนนั้นผมคิดว่า “สุดยอดจริงๆที่ได้เห็นการเติบโตของพวกเขา” ตอนแรกผมกะว่าจะทำโรงละครสำหรับคณะกายกรรมแบบเดียวกันที่แถวๆฮาราจูกุและอาโอยาม่า แต่หาเท่าไรก็ไม่เจอที่เหมาะๆสักที หาไปหามาก็มาเจอที่เหมาะๆแถวอากิฮาบาร่านี่แหละ แต่ถ้าเราเปิดโรงละครสำหรับคณะกายกรรมที่นี่คงไม่เหมาะ ผมว่าทำวงไอดอลคงน่าจะเป็นที่สนใจในแถบนี้มากกว่า ดังนั้นในปี2005ผมจึงตัดสินใจสร้างAKB48ขึ้นมา
ตอนที่สร้างวงผมไม่ได้สนใจการตลาดหรือความต้องการของผู้บริโภคเท่าไรนักหรอก ดังนั้นผมเลยเจอเสียงต่อต้านมามากมายจากหลายฝ่าย แต่ในหัวผมตอนนั้นคิดแต่ว่า “ไอดอลที่แสดงทุกวันเพื่อที่คุณจะได้เห็นการเติบโตของพวกเธอ น่าสนุกจะตาย”
ในตอนนั้นการโหลดเถื่อนกำลังเป็นที่แพร่หลาย ผมเลยต้องหาทางเพื่อให้วงอยู่รอดซึ่งการแสดงสดเนี่ยแหละคือทางรอด
พอเปิดตัวไปในเดือนธันวาปี2005ต่อมาในเดือนกุมภาพันธุ์ปีต่อมาตั๋วเธียเตอร์ก็ขายหมดเกลี้ยง การพูดกันปากต่อปากในอินเตอร์เน็ตมันลุกลามไปเร็วจริงๆ ชาวเน็ตพูดกันว่า “เราเจออะไรเจ๋งๆมาด้วยแหละ” พวกเค้าพูดเหมือนเจอฐานทัพลับยังไงยังงั้นเลย
ในยุคนี้มันไม่มีสูตรสำเร็จในการปั้นไอดอลวงนึงให้โด่งดังขึ้นมาหรอกนะ สิ่งที่สำคัญคือการนำเสนอสิ่งที่สังคมกำลังต้องการ มันก็เหมือนการเสิร์ฟแกงกระหรี่เนื้อทอดให้กับนักเบสบอลที่เพิ่งซ้อมเสร็จนั่นแหละ สิ่งนี้แหละที่เป็นตัวตัดสินว่าวงไหนจะรุ่งหรือร่วง ผมคิดว่าสิ่งที่วงOnyankoเติมเต็มให้กับสังคมในตอนนั้นก็คือความที่วงเป็นมือสมัครเล่นที่ไม่ได้เก่งกาจอะไร ในปัจจุบันนี้ผมว่าสิ่งที่AKB48เติมเต็มให้กับสังคมก็คือความรู้สึกเห็นใจให้ไอดอลที่ค่อยๆพัฒนาตัวเองขึ้นมา




Q: ภาพลักษณ์ของไอดอลที่สังคมต้องการเป็นแบบไหนครับ?
อากิโมโต้: เอาจริงๆผมก็ไม่รู้เหมือนกันนะ
ผมว่าความคิดของคนส่วนใหญ่ก็คงอยากเห็นสิ่งที่ไม่เคยเห็นมาก่อน ไม่ว่าจะผ่านไปกี่ยุคกี่สมัยผู้คนก็ยังคิดแบบนี้ ยกตัวอย่างตอนที่ผมสร้างโนกิซากะ46ที่เป็นวงคู่แข่งของAKB ในโลกไอดอลไม่มีใครเค้าทำแบบนี้หรอก อีกตัวอย่างก็คือตอนที่เคยะกิซากะเปิดตัวอย่างงดงามด้วยเพลง Silent Majority แม้ว่าเนื้อหาของเพลงนี้มันค่อนข้างรุนแรง แต่ผมว่าที่มันดังเพราะคนอยากเห็นในสิ่งที่เค้าไม่เคยเห็นมาก่อน
ตอนแรกผมตั้งใจจะเอาเพลงSilent Majorityไปเป็นเพลงประกอบโฆษณา ตอนนั้นมีคนมาขอให้ผมแต่งเพลงที่มีเนื้อหาน่ารักสดใส แต่แต่งไปแต่งมาไม่รู้ทำไมมันถึงออกมาคนละขั้วแบบนี้ แต่ในใจผมคิดว่าเพลงนี้มันเจ๋งดี มันเหมือนตอนนี้สังคมต้องการอะไรเค็มๆบ้างหลังการที่เสพรสหวานมานานคุณคิดเหมือนผมไหม?


มี 2 Partนะ  
 


ประธานสุดยอดไปเลยฮับสะเด้ย!!

My Locker
ออฟไลน์
ดาวซัลโวยุโรป
Status:
เข้าร่วม: 31 Jan 2014
ตอบ: 11616
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Sat Apr 08, 2017 18:22
Gangjjang พิมพ์ว่า:
Spoil
Barakamon พิมพ์ว่า:
ไปเจอบทความสัมพาษณ์ลุงแว่นในพันทิพมา อ่านแล้วชอบเลยแปลมาให้อ่านกัน
ในบทสัมภาษณ์ก็จะพูดถึงแนวคิดการทำงานของลุงแว่น มุมมองของแกต่อK-pop เรื่องของพารูรุ การออดิชั่นสุดแปลก แกได้แรงบันดารใจอะไรในการก่อตั้งAKB48 มีพูดถึงที่มาของโนกิกับเคยะด้วยนะ
อ่านแล้วไม่เข้าใจตรงไหนก็ถามได้นะครับ


เปิดใจอากิโมโต้ ยาสุชิ ชายผู้ไม่เคยหยุดคิดสิ่งใหม่ๆให้วงการบันเทิง


"ผมอยากเห็นในสิ่งที่ผมไม่เคยเห็นมาก่อน"

แม้ว่าอากิโมโต้ยาสุิชิจะเป็นโปรดิวเซอร์และนักแต่งเพลงให้กับ48Group แต่เค้ายังเป็นผู้นำสิ่งใหม่ๆมาสู่อุตสาหกรรมไอดอลอีกด้วย



อากิโมโต้ ยาสุชิถือกำเนิดที่โตเกียวในปี1958 สมัยยังเรียนอากิโมโต้เคยเขียนบทโทรทัศน์ให้รายการหลายรายการรวมถึงรายการ “The Best Ten” อันโด่งดังอีกด้วย ต่อมาในปี1983ชื่อของเค้าเริ่มกลายเป็นที่รู้จักจากการแต่งเพลง“Kawa no nagare no you ni” ให้กับ มิโซระ ฮิบาริ หลังจากนั้นอากิโมโต้ก็ได้แต่งเพลงฮิตติดลมบนมาอย่างต่อเนื่องอีกหลายเพลง
ปัจจุบันนี้เค้ารับบทโปรดิวเซอร์ของไอดอลแห่งชาติอย่างAKB48(รวมไปถึงโนกิซากะ46และเคยะกิซากะ46)

Kawa no nagare no you ni ได้รับการโหวตจากคนทั่วประเทศ(สำรวจโดยNHK)ว่าเป็นเพลงยอดเยี่ยมตลอดกาลของญี่ปุ่นในปี1997



Q: ในNikkei Businessฉบับพิเศษเล่มนี้เราจะมาคุยกันเรื่องความหมายของ “ไอดอล” กันสักหน่อย อากิโมโต้ซังครับ “ไอดอล” ในความหมายของคุณคืออะไรคับ
อากิโมโต้: ผมคิดว่าในช่วงหลายปีมานี้ไอดอลไม่ได้เปลี่ยนไปมากสักเท่าไร พูดกันตรงๆไอดอลและอุตสาหกรรมบันเทิงไม่ได้เปลี่ยนไปเลย ผมคิดว่าสิงที่เปลี่ยนคือแฟนๆที่เป็นผู้บริโภคสื่อต่างหาก ในมุมมองของผมวงการไม่มีอะไรเปลี่ยนไปเลย
แนวทางของผมคือผมจะทำในสิ่งที่ผมพอใจจะทำ แต่มันจะปังหรือพังก็อยู่ที่ผู้บริโภคในตอนนั้นต้องการอะไร ถ้าหากสิ่งที่ผมคิดกับสิ่งที่แฟนๆต้องการมันตรงกันพอดีเวลานั้นแหละคือเวลาที่ไอดอลกรุ๊ปนั้นจะดังระเบิด แต่ถ้าหากไอดอลกรุ๊ปนั้นไม่ได้เป็นไปอย่างที่หวัง ผู้คนก็จะเปรียบเทียบกับสิ่งที่เค้าคิดแล้วก็จะเริ่มคิดกันว่า “ไอดอลเปลี่ยนไปแล้วสินะ”
คุณอากุ ยูเคยบอกกับผมว่าตอนที่เครื่องวอร์คแมนเริ่มเข้ามามีบทบาท ตอนนั้นอุตสาหกรรมเพลงเปลี่ยนไปอย่างมาก ในสมัยก่อนหากคุณอยากฟังเพลงใหม่ๆ คุณก็ต้องไปแถวใจกลางเมืองที่เค้าชอบเปิดเพลงกันเพื่อไปฟังเพลงใหม่ๆแล้วก็ค่อยชอบมัน แต่ว่าตอนที่วอร์คแมนเริ่มดัง กลายเป็นว่าผู้คนเดินไปมาใส่หูฟังฟังแต่เพลงที่ตัวเองชอบ เพราะอย่างงี้ไงเพลงใหม่ๆถึงดังยาก

การตลาดไม่ใช่ทุกอย่าง

Q: เรารู้มาว่าคุณเชื่อว่าการสำรวจตลาดและความต้องการของผู้บริโภคไม่ใช่ทุกอย่าง ทำไมคุณถึงคิดยังงั้น?
อากิโมโต้: ตอนที่ผมเริ่มเขียนบทโทรทัศน์ตอน30 ผมมักจะเขียนโดยคิดในใจว่า “คนอยากดูอะไรในช่วงเวลาที่รายการนี้ฉาย” ผมว่ามันเป็นความคิดที่โง่จริงๆ วันนึงผมคิดได้ว่าผมก็เป็นแค่ผู้ชมธรรมดาคนนึงเหมือนกัน แทนที่จะเขียนบทให้คนที่ไม่รู้จักแล้วมานั่งเครียดว่าเค้าจะชอบไหม ผมว่าผมเขียนสิ่งที่ตัวเองซึ่งเป็นคนธรรมดาคนนึงเหมือนกันกำลังสนใจดีกว่า พอคิดได้ยังงี้ผมก็เลิกห่วงเรื่องเทรนด์และตลาดหันมาเขียนสิ่งที่ตัวเองชอบดีกว่า

เพลง “Nantetatte Idol(ยังไงฉันก็จะเป็นไอดอล)” คือเพลงสะท้อนความขัดแย้งของยุคก่อน

Q: ในปี 1985 ตอนที่เพลง “Nantetatte Idol” ของโคอิซุมิ เคียวโกะวางขาย เนื้อหาของเพลงเข้าใจง่ายและสะท้อนภาพลักษณ์ของไอดอลในสมัยก่อนได้อย่างชัดเจน คุณเห็นด้วยไหม?
อากิโมโต้: ตอนที่ผมเขียนเพลงนี้ ยุคนั้นเป็นยุคที่วงร๊อคบูมมากๆ ฮอนดะ มินาโกะตั้งวง Wild Cat ขึ้น ไอดอลคนอื่นๆก็เดินเข้ามาสู่โลกของวงร๊อคเช่นกัน สังคมในตอนนั้นมองไอดอลที่แต่งตัวน่ารักๆเต้นแบ๊วๆว่าไม่เท่ห์ เพราะฉะนั้นตอนที่ผมเขียนเพลง“Nantetatte Idol”ผมต้องการจะสื่อสิ่งที่ขัดแย้งกับความคิดคนยุคนั้นว่า “เป็นไอดอลมันไม่เท่ห์ตรงไหน?” ผมว่าถ้าผมเขียนเพลงตามเทรนด์ตอนนั้นเพลงที่ผมเขียนคงอยู่ได้ไม่นาน

สังคมมักจะสงสารเด็กธรรมดาที่พยายามจะโด่งดัง

Q: ในช่วงเวลาใกล้ๆกันตอนที่วงOnyanko Club เดบิ้ว(ในปี 1985) พวกเธอเป็นไอดอลที่ไม่เคยมีมาก่อน ทำไมพวกเธอถึงโด่งดังในหมู่คนทั่วไปได้?
อากิโมโต้: ตอนที่ผมตัดสินใจเริ่มคิดทำวงนี้ผมได้ความคิดมาจากตอนที่MCประกาศบนเวทีว่า”นิตตะ เอริจังไม่สามารถมาร่วมรายการได้ เนื่องจากติดสอบมิดเทอม”
ในสมัยก่อนถ้าคุณคิดถึงไอดอล คุณก็จะนึกถึงภาพเด็กสักคนไปเรียนร้องเพลงและเต้นที่สถาบันโฮริชิโกะ เด็กพวกนี้ไม่ได้เรียนในโรงเรียนปกติซึ่งมันก็ดูเท่ห์ดีในสมัยนั้น อีกแง่นึงก็คือไอดอลคือผู้ที่รับเลือกให้เป็นคนพิเศษ ซึ่งในยุค80คือยุคที่อุตสาหกรรมบันเทิงมาถึงจุดสูงสุดทำให้ผู้คนมากมายอยากเข้ามาในวงการ
แต่ตอนที่ยามากุจิ โมโมเอะซังออกจากวงการและวง Candies ยุบวง ผมว่าตอนนั้นคนเริ่มคิดกันแล้วว่า “การอยู่ในจุดสูงสุดของวงการมานานมันดีขนาดนั้นเลยหรอ?” แต่ตอนนั้นคนส่วนใหญ่ก็ยังมองว่าวงการบันเทิงคือโลกในฝันที่สวยหรูอยู่ ต่อมาเด็กๆส่วนใหญ่เลือกที่จะไปสอบมิดเทอมมากกว่าไปออกทีวีซะงั้น ผมคิดว่านี่แหละคือก้าวใหม่ของไอดอลเลยนะ

จะเดบิ้วอะไรก็ต้องดูว่าผู้คนกำลัง “โหยหา” สิ่งไหน

อากิโมโต้: สมัยผมยังเด็ก ผมชอบไปคณะกายกรรมโชว์ที่โรงละครมาก ได้เห็นพวกเค้าเริ่มเติบใหญ่ขึ้นเรื่อยๆจากโรงละครเล็กๆค่อยๆขยายใหญ่ขึ้น ตอนนั้นผมคิดว่า “สุดยอดจริงๆที่ได้เห็นการเติบโตของพวกเขา” ตอนแรกผมกะว่าจะทำโรงละครสำหรับคณะกายกรรมแบบเดียวกันที่แถวๆฮาราจูกุและอาโอยาม่า แต่หาเท่าไรก็ไม่เจอที่เหมาะๆสักที หาไปหามาก็มาเจอที่เหมาะๆแถวอากิฮาบาร่านี่แหละ แต่ถ้าเราเปิดโรงละครสำหรับคณะกายกรรมที่นี่คงไม่เหมาะ ผมว่าทำวงไอดอลคงน่าจะเป็นที่สนใจในแถบนี้มากกว่า ดังนั้นในปี2005ผมจึงตัดสินใจสร้างAKB48ขึ้นมา
ตอนที่สร้างวงผมไม่ได้สนใจการตลาดหรือความต้องการของผู้บริโภคเท่าไรนักหรอก ดังนั้นผมเลยเจอเสียงต่อต้านมามากมายจากหลายฝ่าย แต่ในหัวผมตอนนั้นคิดแต่ว่า “ไอดอลที่แสดงทุกวันเพื่อที่คุณจะได้เห็นการเติบโตของพวกเธอ น่าสนุกจะตาย”
ในตอนนั้นการโหลดเถื่อนกำลังเป็นที่แพร่หลาย ผมเลยต้องหาทางเพื่อให้วงอยู่รอดซึ่งการแสดงสดเนี่ยแหละคือทางรอด
พอเปิดตัวไปในเดือนธันวาปี2005ต่อมาในเดือนกุมภาพันธุ์ปีต่อมาตั๋วเธียเตอร์ก็ขายหมดเกลี้ยง การพูดกันปากต่อปากในอินเตอร์เน็ตมันลุกลามไปเร็วจริงๆ ชาวเน็ตพูดกันว่า “เราเจออะไรเจ๋งๆมาด้วยแหละ” พวกเค้าพูดเหมือนเจอฐานทัพลับยังไงยังงั้นเลย
ในยุคนี้มันไม่มีสูตรสำเร็จในการปั้นไอดอลวงนึงให้โด่งดังขึ้นมาหรอกนะ สิ่งที่สำคัญคือการนำเสนอสิ่งที่สังคมกำลังต้องการ มันก็เหมือนการเสิร์ฟแกงกระหรี่เนื้อทอดให้กับนักเบสบอลที่เพิ่งซ้อมเสร็จนั่นแหละ สิ่งนี้แหละที่เป็นตัวตัดสินว่าวงไหนจะรุ่งหรือร่วง ผมคิดว่าสิ่งที่วงOnyankoเติมเต็มให้กับสังคมในตอนนั้นก็คือความที่วงเป็นมือสมัครเล่นที่ไม่ได้เก่งกาจอะไร ในปัจจุบันนี้ผมว่าสิ่งที่AKB48เติมเต็มให้กับสังคมก็คือความรู้สึกเห็นใจให้ไอดอลที่ค่อยๆพัฒนาตัวเองขึ้นมา




Q: ภาพลักษณ์ของไอดอลที่สังคมต้องการเป็นแบบไหนครับ?
อากิโมโต้: เอาจริงๆผมก็ไม่รู้เหมือนกันนะ
ผมว่าความคิดของคนส่วนใหญ่ก็คงอยากเห็นสิ่งที่ไม่เคยเห็นมาก่อน ไม่ว่าจะผ่านไปกี่ยุคกี่สมัยผู้คนก็ยังคิดแบบนี้ ยกตัวอย่างตอนที่ผมสร้างโนกิซากะ46ที่เป็นวงคู่แข่งของAKB ในโลกไอดอลไม่มีใครเค้าทำแบบนี้หรอก อีกตัวอย่างก็คือตอนที่เคยะกิซากะเปิดตัวอย่างงดงามด้วยเพลง Silent Majority แม้ว่าเนื้อหาของเพลงนี้มันค่อนข้างรุนแรง แต่ผมว่าที่มันดังเพราะคนอยากเห็นในสิ่งที่เค้าไม่เคยเห็นมาก่อน
ตอนแรกผมตั้งใจจะเอาเพลงSilent Majorityไปเป็นเพลงประกอบโฆษณา ตอนนั้นมีคนมาขอให้ผมแต่งเพลงที่มีเนื้อหาน่ารักสดใส แต่แต่งไปแต่งมาไม่รู้ทำไมมันถึงออกมาคนละขั้วแบบนี้ แต่ในใจผมคิดว่าเพลงนี้มันเจ๋งดี มันเหมือนตอนนี้สังคมต้องการอะไรเค็มๆบ้างหลังการที่เสพรสหวานมานานคุณคิดเหมือนผมไหม?


มี 2 Partนะ  
 


ประธานสุดยอดไปเลยฮับสะเด้ย!!  


ตัวอักษรเล็กไปไหมอะ


อยู่กับสิ่งที่มี ไม่ใช่สิ่งที่ฝัน........



My Locker
ออฟไลน์
แข้งดัทช์ลีก
Status:
เข้าร่วม: 21 Sep 2007
ตอบ: 7724 (บอร์ดเก่า 1237)
ที่อยู่: ร้านขายเสื้อผ้าที่หัวใจโมนะอยู่ตรงนั้น
โพสเมื่อ: Sat Apr 08, 2017 18:24
Barakamon พิมพ์ว่า:
Gangjjang พิมพ์ว่า:
Spoil
Barakamon พิมพ์ว่า:
ไปเจอบทความสัมพาษณ์ลุงแว่นในพันทิพมา อ่านแล้วชอบเลยแปลมาให้อ่านกัน
ในบทสัมภาษณ์ก็จะพูดถึงแนวคิดการทำงานของลุงแว่น มุมมองของแกต่อK-pop เรื่องของพารูรุ การออดิชั่นสุดแปลก แกได้แรงบันดารใจอะไรในการก่อตั้งAKB48 มีพูดถึงที่มาของโนกิกับเคยะด้วยนะ
อ่านแล้วไม่เข้าใจตรงไหนก็ถามได้นะครับ


เปิดใจอากิโมโต้ ยาสุชิ ชายผู้ไม่เคยหยุดคิดสิ่งใหม่ๆให้วงการบันเทิง


"ผมอยากเห็นในสิ่งที่ผมไม่เคยเห็นมาก่อน"

แม้ว่าอากิโมโต้ยาสุิชิจะเป็นโปรดิวเซอร์และนักแต่งเพลงให้กับ48Group แต่เค้ายังเป็นผู้นำสิ่งใหม่ๆมาสู่อุตสาหกรรมไอดอลอีกด้วย



อากิโมโต้ ยาสุชิถือกำเนิดที่โตเกียวในปี1958 สมัยยังเรียนอากิโมโต้เคยเขียนบทโทรทัศน์ให้รายการหลายรายการรวมถึงรายการ “The Best Ten” อันโด่งดังอีกด้วย ต่อมาในปี1983ชื่อของเค้าเริ่มกลายเป็นที่รู้จักจากการแต่งเพลง“Kawa no nagare no you ni” ให้กับ มิโซระ ฮิบาริ หลังจากนั้นอากิโมโต้ก็ได้แต่งเพลงฮิตติดลมบนมาอย่างต่อเนื่องอีกหลายเพลง
ปัจจุบันนี้เค้ารับบทโปรดิวเซอร์ของไอดอลแห่งชาติอย่างAKB48(รวมไปถึงโนกิซากะ46และเคยะกิซากะ46)

Kawa no nagare no you ni ได้รับการโหวตจากคนทั่วประเทศ(สำรวจโดยNHK)ว่าเป็นเพลงยอดเยี่ยมตลอดกาลของญี่ปุ่นในปี1997



Q: ในNikkei Businessฉบับพิเศษเล่มนี้เราจะมาคุยกันเรื่องความหมายของ “ไอดอล” กันสักหน่อย อากิโมโต้ซังครับ “ไอดอล” ในความหมายของคุณคืออะไรคับ
อากิโมโต้: ผมคิดว่าในช่วงหลายปีมานี้ไอดอลไม่ได้เปลี่ยนไปมากสักเท่าไร พูดกันตรงๆไอดอลและอุตสาหกรรมบันเทิงไม่ได้เปลี่ยนไปเลย ผมคิดว่าสิงที่เปลี่ยนคือแฟนๆที่เป็นผู้บริโภคสื่อต่างหาก ในมุมมองของผมวงการไม่มีอะไรเปลี่ยนไปเลย
แนวทางของผมคือผมจะทำในสิ่งที่ผมพอใจจะทำ แต่มันจะปังหรือพังก็อยู่ที่ผู้บริโภคในตอนนั้นต้องการอะไร ถ้าหากสิ่งที่ผมคิดกับสิ่งที่แฟนๆต้องการมันตรงกันพอดีเวลานั้นแหละคือเวลาที่ไอดอลกรุ๊ปนั้นจะดังระเบิด แต่ถ้าหากไอดอลกรุ๊ปนั้นไม่ได้เป็นไปอย่างที่หวัง ผู้คนก็จะเปรียบเทียบกับสิ่งที่เค้าคิดแล้วก็จะเริ่มคิดกันว่า “ไอดอลเปลี่ยนไปแล้วสินะ”
คุณอากุ ยูเคยบอกกับผมว่าตอนที่เครื่องวอร์คแมนเริ่มเข้ามามีบทบาท ตอนนั้นอุตสาหกรรมเพลงเปลี่ยนไปอย่างมาก ในสมัยก่อนหากคุณอยากฟังเพลงใหม่ๆ คุณก็ต้องไปแถวใจกลางเมืองที่เค้าชอบเปิดเพลงกันเพื่อไปฟังเพลงใหม่ๆแล้วก็ค่อยชอบมัน แต่ว่าตอนที่วอร์คแมนเริ่มดัง กลายเป็นว่าผู้คนเดินไปมาใส่หูฟังฟังแต่เพลงที่ตัวเองชอบ เพราะอย่างงี้ไงเพลงใหม่ๆถึงดังยาก

การตลาดไม่ใช่ทุกอย่าง

Q: เรารู้มาว่าคุณเชื่อว่าการสำรวจตลาดและความต้องการของผู้บริโภคไม่ใช่ทุกอย่าง ทำไมคุณถึงคิดยังงั้น?
อากิโมโต้: ตอนที่ผมเริ่มเขียนบทโทรทัศน์ตอน30 ผมมักจะเขียนโดยคิดในใจว่า “คนอยากดูอะไรในช่วงเวลาที่รายการนี้ฉาย” ผมว่ามันเป็นความคิดที่โง่จริงๆ วันนึงผมคิดได้ว่าผมก็เป็นแค่ผู้ชมธรรมดาคนนึงเหมือนกัน แทนที่จะเขียนบทให้คนที่ไม่รู้จักแล้วมานั่งเครียดว่าเค้าจะชอบไหม ผมว่าผมเขียนสิ่งที่ตัวเองซึ่งเป็นคนธรรมดาคนนึงเหมือนกันกำลังสนใจดีกว่า พอคิดได้ยังงี้ผมก็เลิกห่วงเรื่องเทรนด์และตลาดหันมาเขียนสิ่งที่ตัวเองชอบดีกว่า

เพลง “Nantetatte Idol(ยังไงฉันก็จะเป็นไอดอล)” คือเพลงสะท้อนความขัดแย้งของยุคก่อน

Q: ในปี 1985 ตอนที่เพลง “Nantetatte Idol” ของโคอิซุมิ เคียวโกะวางขาย เนื้อหาของเพลงเข้าใจง่ายและสะท้อนภาพลักษณ์ของไอดอลในสมัยก่อนได้อย่างชัดเจน คุณเห็นด้วยไหม?
อากิโมโต้: ตอนที่ผมเขียนเพลงนี้ ยุคนั้นเป็นยุคที่วงร๊อคบูมมากๆ ฮอนดะ มินาโกะตั้งวง Wild Cat ขึ้น ไอดอลคนอื่นๆก็เดินเข้ามาสู่โลกของวงร๊อคเช่นกัน สังคมในตอนนั้นมองไอดอลที่แต่งตัวน่ารักๆเต้นแบ๊วๆว่าไม่เท่ห์ เพราะฉะนั้นตอนที่ผมเขียนเพลง“Nantetatte Idol”ผมต้องการจะสื่อสิ่งที่ขัดแย้งกับความคิดคนยุคนั้นว่า “เป็นไอดอลมันไม่เท่ห์ตรงไหน?” ผมว่าถ้าผมเขียนเพลงตามเทรนด์ตอนนั้นเพลงที่ผมเขียนคงอยู่ได้ไม่นาน

สังคมมักจะสงสารเด็กธรรมดาที่พยายามจะโด่งดัง

Q: ในช่วงเวลาใกล้ๆกันตอนที่วงOnyanko Club เดบิ้ว(ในปี 1985) พวกเธอเป็นไอดอลที่ไม่เคยมีมาก่อน ทำไมพวกเธอถึงโด่งดังในหมู่คนทั่วไปได้?
อากิโมโต้: ตอนที่ผมตัดสินใจเริ่มคิดทำวงนี้ผมได้ความคิดมาจากตอนที่MCประกาศบนเวทีว่า”นิตตะ เอริจังไม่สามารถมาร่วมรายการได้ เนื่องจากติดสอบมิดเทอม”
ในสมัยก่อนถ้าคุณคิดถึงไอดอล คุณก็จะนึกถึงภาพเด็กสักคนไปเรียนร้องเพลงและเต้นที่สถาบันโฮริชิโกะ เด็กพวกนี้ไม่ได้เรียนในโรงเรียนปกติซึ่งมันก็ดูเท่ห์ดีในสมัยนั้น อีกแง่นึงก็คือไอดอลคือผู้ที่รับเลือกให้เป็นคนพิเศษ ซึ่งในยุค80คือยุคที่อุตสาหกรรมบันเทิงมาถึงจุดสูงสุดทำให้ผู้คนมากมายอยากเข้ามาในวงการ
แต่ตอนที่ยามากุจิ โมโมเอะซังออกจากวงการและวง Candies ยุบวง ผมว่าตอนนั้นคนเริ่มคิดกันแล้วว่า “การอยู่ในจุดสูงสุดของวงการมานานมันดีขนาดนั้นเลยหรอ?” แต่ตอนนั้นคนส่วนใหญ่ก็ยังมองว่าวงการบันเทิงคือโลกในฝันที่สวยหรูอยู่ ต่อมาเด็กๆส่วนใหญ่เลือกที่จะไปสอบมิดเทอมมากกว่าไปออกทีวีซะงั้น ผมคิดว่านี่แหละคือก้าวใหม่ของไอดอลเลยนะ

จะเดบิ้วอะไรก็ต้องดูว่าผู้คนกำลัง “โหยหา” สิ่งไหน

อากิโมโต้: สมัยผมยังเด็ก ผมชอบไปคณะกายกรรมโชว์ที่โรงละครมาก ได้เห็นพวกเค้าเริ่มเติบใหญ่ขึ้นเรื่อยๆจากโรงละครเล็กๆค่อยๆขยายใหญ่ขึ้น ตอนนั้นผมคิดว่า “สุดยอดจริงๆที่ได้เห็นการเติบโตของพวกเขา” ตอนแรกผมกะว่าจะทำโรงละครสำหรับคณะกายกรรมแบบเดียวกันที่แถวๆฮาราจูกุและอาโอยาม่า แต่หาเท่าไรก็ไม่เจอที่เหมาะๆสักที หาไปหามาก็มาเจอที่เหมาะๆแถวอากิฮาบาร่านี่แหละ แต่ถ้าเราเปิดโรงละครสำหรับคณะกายกรรมที่นี่คงไม่เหมาะ ผมว่าทำวงไอดอลคงน่าจะเป็นที่สนใจในแถบนี้มากกว่า ดังนั้นในปี2005ผมจึงตัดสินใจสร้างAKB48ขึ้นมา
ตอนที่สร้างวงผมไม่ได้สนใจการตลาดหรือความต้องการของผู้บริโภคเท่าไรนักหรอก ดังนั้นผมเลยเจอเสียงต่อต้านมามากมายจากหลายฝ่าย แต่ในหัวผมตอนนั้นคิดแต่ว่า “ไอดอลที่แสดงทุกวันเพื่อที่คุณจะได้เห็นการเติบโตของพวกเธอ น่าสนุกจะตาย”
ในตอนนั้นการโหลดเถื่อนกำลังเป็นที่แพร่หลาย ผมเลยต้องหาทางเพื่อให้วงอยู่รอดซึ่งการแสดงสดเนี่ยแหละคือทางรอด
พอเปิดตัวไปในเดือนธันวาปี2005ต่อมาในเดือนกุมภาพันธุ์ปีต่อมาตั๋วเธียเตอร์ก็ขายหมดเกลี้ยง การพูดกันปากต่อปากในอินเตอร์เน็ตมันลุกลามไปเร็วจริงๆ ชาวเน็ตพูดกันว่า “เราเจออะไรเจ๋งๆมาด้วยแหละ” พวกเค้าพูดเหมือนเจอฐานทัพลับยังไงยังงั้นเลย
ในยุคนี้มันไม่มีสูตรสำเร็จในการปั้นไอดอลวงนึงให้โด่งดังขึ้นมาหรอกนะ สิ่งที่สำคัญคือการนำเสนอสิ่งที่สังคมกำลังต้องการ มันก็เหมือนการเสิร์ฟแกงกระหรี่เนื้อทอดให้กับนักเบสบอลที่เพิ่งซ้อมเสร็จนั่นแหละ สิ่งนี้แหละที่เป็นตัวตัดสินว่าวงไหนจะรุ่งหรือร่วง ผมคิดว่าสิ่งที่วงOnyankoเติมเต็มให้กับสังคมในตอนนั้นก็คือความที่วงเป็นมือสมัครเล่นที่ไม่ได้เก่งกาจอะไร ในปัจจุบันนี้ผมว่าสิ่งที่AKB48เติมเต็มให้กับสังคมก็คือความรู้สึกเห็นใจให้ไอดอลที่ค่อยๆพัฒนาตัวเองขึ้นมา




Q: ภาพลักษณ์ของไอดอลที่สังคมต้องการเป็นแบบไหนครับ?
อากิโมโต้: เอาจริงๆผมก็ไม่รู้เหมือนกันนะ
ผมว่าความคิดของคนส่วนใหญ่ก็คงอยากเห็นสิ่งที่ไม่เคยเห็นมาก่อน ไม่ว่าจะผ่านไปกี่ยุคกี่สมัยผู้คนก็ยังคิดแบบนี้ ยกตัวอย่างตอนที่ผมสร้างโนกิซากะ46ที่เป็นวงคู่แข่งของAKB ในโลกไอดอลไม่มีใครเค้าทำแบบนี้หรอก อีกตัวอย่างก็คือตอนที่เคยะกิซากะเปิดตัวอย่างงดงามด้วยเพลง Silent Majority แม้ว่าเนื้อหาของเพลงนี้มันค่อนข้างรุนแรง แต่ผมว่าที่มันดังเพราะคนอยากเห็นในสิ่งที่เค้าไม่เคยเห็นมาก่อน
ตอนแรกผมตั้งใจจะเอาเพลงSilent Majorityไปเป็นเพลงประกอบโฆษณา ตอนนั้นมีคนมาขอให้ผมแต่งเพลงที่มีเนื้อหาน่ารักสดใส แต่แต่งไปแต่งมาไม่รู้ทำไมมันถึงออกมาคนละขั้วแบบนี้ แต่ในใจผมคิดว่าเพลงนี้มันเจ๋งดี มันเหมือนตอนนี้สังคมต้องการอะไรเค็มๆบ้างหลังการที่เสพรสหวานมานานคุณคิดเหมือนผมไหม?


มี 2 Partนะ  
 


ประธานสุดยอดไปเลยฮับสะเด้ย!!  


ตัวอักษรเล็กไปไหมอะ  


ไม่ครับแต่บรรทัดมันติดกันไปหน่อย ผมอ่านโอเคเลย

ปล. ผมเชื่อเหลือเกินว่าพารุคือลูกรักที่สุดของอากิพี

My Locker
ออฟไลน์
นักบอลถ้วย ง.
Status:
เข้าร่วม: 14 Aug 2012
ตอบ: 5990 (บอร์ดเก่า 4423)
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Sat Apr 08, 2017 18:28
Barakamon พิมพ์ว่า:
Spoil
ไปเจอบทความสัมพาษณ์ลุงแว่นในพันทิพมา อ่านแล้วชอบเลยแปลมาให้อ่านกัน
ในบทสัมภาษณ์ก็จะพูดถึงแนวคิดการทำงานของลุงแว่น มุมมองของแกต่อK-pop เรื่องของพารูรุ การออดิชั่นสุดแปลก แกได้แรงบันดารใจอะไรในการก่อตั้งAKB48 มีพูดถึงที่มาของโนกิกับเคยะด้วยนะ
อ่านแล้วไม่เข้าใจตรงไหนก็ถามได้นะครับ


เปิดใจอากิโมโต้ ยาสุชิ ชายผู้ไม่เคยหยุดคิดสิ่งใหม่ๆให้วงการบันเทิง


"ผมอยากเห็นในสิ่งที่ผมไม่เคยเห็นมาก่อน"

แม้ว่าอากิโมโต้ยาสุิชิจะเป็นโปรดิวเซอร์และนักแต่งเพลงให้กับ48Group แต่เค้ายังเป็นผู้นำสิ่งใหม่ๆมาสู่อุตสาหกรรมไอดอลอีกด้วย



อากิโมโต้ ยาสุชิถือกำเนิดที่โตเกียวในปี1958 สมัยยังเรียนอากิโมโต้เคยเขียนบทโทรทัศน์ให้รายการหลายรายการรวมถึงรายการ “The Best Ten” อันโด่งดังอีกด้วย ต่อมาในปี1983ชื่อของเค้าเริ่มกลายเป็นที่รู้จักจากการแต่งเพลง“Kawa no nagare no you ni” ให้กับ มิโซระ ฮิบาริ หลังจากนั้นอากิโมโต้ก็ได้แต่งเพลงฮิตติดลมบนมาอย่างต่อเนื่องอีกหลายเพลง
ปัจจุบันนี้เค้ารับบทโปรดิวเซอร์ของไอดอลแห่งชาติอย่างAKB48(รวมไปถึงโนกิซากะ46และเคยะกิซากะ46)

Kawa no nagare no you ni ได้รับการโหวตจากคนทั่วประเทศ(สำรวจโดยNHK)ว่าเป็นเพลงยอดเยี่ยมตลอดกาลของญี่ปุ่นในปี1997



Q: ในNikkei Businessฉบับพิเศษเล่มนี้เราจะมาคุยกันเรื่องความหมายของ “ไอดอล” กันสักหน่อย อากิโมโต้ซังครับ “ไอดอล” ในความหมายของคุณคืออะไรคับ
อากิโมโต้: ผมคิดว่าในช่วงหลายปีมานี้ไอดอลไม่ได้เปลี่ยนไปมากสักเท่าไร พูดกันตรงๆไอดอลและอุตสาหกรรมบันเทิงไม่ได้เปลี่ยนไปเลย ผมคิดว่าสิงที่เปลี่ยนคือแฟนๆที่เป็นผู้บริโภคสื่อต่างหาก ในมุมมองของผมวงการไม่มีอะไรเปลี่ยนไปเลย
แนวทางของผมคือผมจะทำในสิ่งที่ผมพอใจจะทำ แต่มันจะปังหรือพังก็อยู่ที่ผู้บริโภคในตอนนั้นต้องการอะไร ถ้าหากสิ่งที่ผมคิดกับสิ่งที่แฟนๆต้องการมันตรงกันพอดีเวลานั้นแหละคือเวลาที่ไอดอลกรุ๊ปนั้นจะดังระเบิด แต่ถ้าหากไอดอลกรุ๊ปนั้นไม่ได้เป็นไปอย่างที่หวัง ผู้คนก็จะเปรียบเทียบกับสิ่งที่เค้าคิดแล้วก็จะเริ่มคิดกันว่า “ไอดอลเปลี่ยนไปแล้วสินะ”
คุณอากุ ยูเคยบอกกับผมว่าตอนที่เครื่องวอร์คแมนเริ่มเข้ามามีบทบาท ตอนนั้นอุตสาหกรรมเพลงเปลี่ยนไปอย่างมาก ในสมัยก่อนหากคุณอยากฟังเพลงใหม่ๆ คุณก็ต้องไปแถวใจกลางเมืองที่เค้าชอบเปิดเพลงกันเพื่อไปฟังเพลงใหม่ๆแล้วก็ค่อยชอบมัน แต่ว่าตอนที่วอร์คแมนเริ่มดัง กลายเป็นว่าผู้คนเดินไปมาใส่หูฟังฟังแต่เพลงที่ตัวเองชอบ เพราะอย่างงี้ไงเพลงใหม่ๆถึงดังยาก

การตลาดไม่ใช่ทุกอย่าง

Q: เรารู้มาว่าคุณเชื่อว่าการสำรวจตลาดและความต้องการของผู้บริโภคไม่ใช่ทุกอย่าง ทำไมคุณถึงคิดยังงั้น?
อากิโมโต้: ตอนที่ผมเริ่มเขียนบทโทรทัศน์ตอน30 ผมมักจะเขียนโดยคิดในใจว่า “คนอยากดูอะไรในช่วงเวลาที่รายการนี้ฉาย” ผมว่ามันเป็นความคิดที่โง่จริงๆ วันนึงผมคิดได้ว่าผมก็เป็นแค่ผู้ชมธรรมดาคนนึงเหมือนกัน แทนที่จะเขียนบทให้คนที่ไม่รู้จักแล้วมานั่งเครียดว่าเค้าจะชอบไหม ผมว่าผมเขียนสิ่งที่ตัวเองซึ่งเป็นคนธรรมดาคนนึงเหมือนกันกำลังสนใจดีกว่า พอคิดได้ยังงี้ผมก็เลิกห่วงเรื่องเทรนด์และตลาดหันมาเขียนสิ่งที่ตัวเองชอบดีกว่า

เพลง “Nantetatte Idol(ยังไงฉันก็จะเป็นไอดอล)” คือเพลงสะท้อนความขัดแย้งของยุคก่อน

Q: ในปี 1985 ตอนที่เพลง “Nantetatte Idol” ของโคอิซุมิ เคียวโกะวางขาย เนื้อหาของเพลงเข้าใจง่ายและสะท้อนภาพลักษณ์ของไอดอลในสมัยก่อนได้อย่างชัดเจน คุณเห็นด้วยไหม?
อากิโมโต้: ตอนที่ผมเขียนเพลงนี้ ยุคนั้นเป็นยุคที่วงร๊อคบูมมากๆ ฮอนดะ มินาโกะตั้งวง Wild Cat ขึ้น ไอดอลคนอื่นๆก็เดินเข้ามาสู่โลกของวงร๊อคเช่นกัน สังคมในตอนนั้นมองไอดอลที่แต่งตัวน่ารักๆเต้นแบ๊วๆว่าไม่เท่ห์ เพราะฉะนั้นตอนที่ผมเขียนเพลง“Nantetatte Idol”ผมต้องการจะสื่อสิ่งที่ขัดแย้งกับความคิดคนยุคนั้นว่า “เป็นไอดอลมันไม่เท่ห์ตรงไหน?” ผมว่าถ้าผมเขียนเพลงตามเทรนด์ตอนนั้นเพลงที่ผมเขียนคงอยู่ได้ไม่นาน

สังคมมักจะสงสารเด็กธรรมดาที่พยายามจะโด่งดัง

Q: ในช่วงเวลาใกล้ๆกันตอนที่วงOnyanko Club เดบิ้ว(ในปี 1985) พวกเธอเป็นไอดอลที่ไม่เคยมีมาก่อน ทำไมพวกเธอถึงโด่งดังในหมู่คนทั่วไปได้?
อากิโมโต้: ตอนที่ผมตัดสินใจเริ่มคิดทำวงนี้ผมได้ความคิดมาจากตอนที่MCประกาศบนเวทีว่า”นิตตะ เอริจังไม่สามารถมาร่วมรายการได้ เนื่องจากติดสอบมิดเทอม”
ในสมัยก่อนถ้าคุณคิดถึงไอดอล คุณก็จะนึกถึงภาพเด็กสักคนไปเรียนร้องเพลงและเต้นที่สถาบันโฮริชิโกะ เด็กพวกนี้ไม่ได้เรียนในโรงเรียนปกติซึ่งมันก็ดูเท่ห์ดีในสมัยนั้น อีกแง่นึงก็คือไอดอลคือผู้ที่รับเลือกให้เป็นคนพิเศษ ซึ่งในยุค80คือยุคที่อุตสาหกรรมบันเทิงมาถึงจุดสูงสุดทำให้ผู้คนมากมายอยากเข้ามาในวงการ
แต่ตอนที่ยามากุจิ โมโมเอะซังออกจากวงการและวง Candies ยุบวง ผมว่าตอนนั้นคนเริ่มคิดกันแล้วว่า “การอยู่ในจุดสูงสุดของวงการมานานมันดีขนาดนั้นเลยหรอ?” แต่ตอนนั้นคนส่วนใหญ่ก็ยังมองว่าวงการบันเทิงคือโลกในฝันที่สวยหรูอยู่ ต่อมาเด็กๆส่วนใหญ่เลือกที่จะไปสอบมิดเทอมมากกว่าไปออกทีวีซะงั้น ผมคิดว่านี่แหละคือก้าวใหม่ของไอดอลเลยนะ

จะเดบิ้วอะไรก็ต้องดูว่าผู้คนกำลัง “โหยหา” สิ่งไหน

อากิโมโต้: สมัยผมยังเด็ก ผมชอบไปคณะกายกรรมโชว์ที่โรงละครมาก ได้เห็นพวกเค้าเริ่มเติบใหญ่ขึ้นเรื่อยๆจากโรงละครเล็กๆค่อยๆขยายใหญ่ขึ้น ตอนนั้นผมคิดว่า “สุดยอดจริงๆที่ได้เห็นการเติบโตของพวกเขา” ตอนแรกผมกะว่าจะทำโรงละครสำหรับคณะกายกรรมแบบเดียวกันที่แถวๆฮาราจูกุและอาโอยาม่า แต่หาเท่าไรก็ไม่เจอที่เหมาะๆสักที หาไปหามาก็มาเจอที่เหมาะๆแถวอากิฮาบาร่านี่แหละ แต่ถ้าเราเปิดโรงละครสำหรับคณะกายกรรมที่นี่คงไม่เหมาะ ผมว่าทำวงไอดอลคงน่าจะเป็นที่สนใจในแถบนี้มากกว่า ดังนั้นในปี2005ผมจึงตัดสินใจสร้างAKB48ขึ้นมา
ตอนที่สร้างวงผมไม่ได้สนใจการตลาดหรือความต้องการของผู้บริโภคเท่าไรนักหรอก ดังนั้นผมเลยเจอเสียงต่อต้านมามากมายจากหลายฝ่าย แต่ในหัวผมตอนนั้นคิดแต่ว่า “ไอดอลที่แสดงทุกวันเพื่อที่คุณจะได้เห็นการเติบโตของพวกเธอ น่าสนุกจะตาย”
ในตอนนั้นการโหลดเถื่อนกำลังเป็นที่แพร่หลาย ผมเลยต้องหาทางเพื่อให้วงอยู่รอดซึ่งการแสดงสดเนี่ยแหละคือทางรอด
พอเปิดตัวไปในเดือนธันวาปี2005ต่อมาในเดือนกุมภาพันธุ์ปีต่อมาตั๋วเธียเตอร์ก็ขายหมดเกลี้ยง การพูดกันปากต่อปากในอินเตอร์เน็ตมันลุกลามไปเร็วจริงๆ ชาวเน็ตพูดกันว่า “เราเจออะไรเจ๋งๆมาด้วยแหละ” พวกเค้าพูดเหมือนเจอฐานทัพลับยังไงยังงั้นเลย
ในยุคนี้มันไม่มีสูตรสำเร็จในการปั้นไอดอลวงนึงให้โด่งดังขึ้นมาหรอกนะ สิ่งที่สำคัญคือการนำเสนอสิ่งที่สังคมกำลังต้องการ มันก็เหมือนการเสิร์ฟแกงกระหรี่เนื้อทอดให้กับนักเบสบอลที่เพิ่งซ้อมเสร็จนั่นแหละ สิ่งนี้แหละที่เป็นตัวตัดสินว่าวงไหนจะรุ่งหรือร่วง ผมคิดว่าสิ่งที่วงOnyankoเติมเต็มให้กับสังคมในตอนนั้นก็คือความที่วงเป็นมือสมัครเล่นที่ไม่ได้เก่งกาจอะไร ในปัจจุบันนี้ผมว่าสิ่งที่AKB48เติมเต็มให้กับสังคมก็คือความรู้สึกเห็นใจให้ไอดอลที่ค่อยๆพัฒนาตัวเองขึ้นมา




Q: ภาพลักษณ์ของไอดอลที่สังคมต้องการเป็นแบบไหนครับ?
อากิโมโต้: เอาจริงๆผมก็ไม่รู้เหมือนกันนะ
ผมว่าความคิดของคนส่วนใหญ่ก็คงอยากเห็นสิ่งที่ไม่เคยเห็นมาก่อน ไม่ว่าจะผ่านไปกี่ยุคกี่สมัยผู้คนก็ยังคิดแบบนี้ ยกตัวอย่างตอนที่ผมสร้างโนกิซากะ46ที่เป็นวงคู่แข่งของAKB ในโลกไอดอลไม่มีใครเค้าทำแบบนี้หรอก อีกตัวอย่างก็คือตอนที่เคยะกิซากะเปิดตัวอย่างงดงามด้วยเพลง Silent Majority แม้ว่าเนื้อหาของเพลงนี้มันค่อนข้างรุนแรง แต่ผมว่าที่มันดังเพราะคนอยากเห็นในสิ่งที่เค้าไม่เคยเห็นมาก่อน
ตอนแรกผมตั้งใจจะเอาเพลงSilent Majorityไปเป็นเพลงประกอบโฆษณา ตอนนั้นมีคนมาขอให้ผมแต่งเพลงที่มีเนื้อหาน่ารักสดใส แต่แต่งไปแต่งมาไม่รู้ทำไมมันถึงออกมาคนละขั้วแบบนี้ แต่ในใจผมคิดว่าเพลงนี้มันเจ๋งดี มันเหมือนตอนนี้สังคมต้องการอะไรเค็มๆบ้างหลังการที่เสพรสหวานมานานคุณคิดเหมือนผมไหม?


มี 2 Partนะ  
 


ท่านประธานของเรา

ปล.ผมขอโทษดันไปเม้นตัดหน้าเม้นบทความเลยไม่ต่อกันเลย
My Locker
ออฟไลน์
แข้งดัทช์ลีก
Status:
เข้าร่วม: 21 Sep 2007
ตอบ: 7724 (บอร์ดเก่า 1237)
ที่อยู่: ร้านขายเสื้อผ้าที่หัวใจโมนะอยู่ตรงนั้น
โพสเมื่อ: Sat Apr 08, 2017 18:30
บุนบุน EP9 มาแล้ว


My Locker
ออฟไลน์
นักเตะหมู่บ้าน
Status:
เข้าร่วม: 11 Feb 2016
ตอบ: 3098
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Sat Apr 08, 2017 18:33
ทานามิน ประกาศแกรดเรียบร้อย เหลือแค่มายูกิแล้ว
My Locker
ออฟไลน์
แขวนสตั๊ด
Status:
เข้าร่วม: 26 Sep 2007
ตอบ: 31288 (บอร์ดเก่า 8479)
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Sat Apr 08, 2017 18:35
ปธ. อย่ามีสาระได้มั้ย ไม่ชินเลย
My Locker
ออฟไลน์
นักเตะหมู่บ้าน
Status:
เข้าร่วม: 11 Feb 2016
ตอบ: 3098
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Sat Apr 08, 2017 18:48
ขอบคุณสำหรับบทความครับท่านประธาน
My Locker
ออฟไลน์
แข้งดัทช์ลีก
Status:
เข้าร่วม: 21 Sep 2007
ตอบ: 7724 (บอร์ดเก่า 1237)
ที่อยู่: ร้านขายเสื้อผ้าที่หัวใจโมนะอยู่ตรงนั้น
โพสเมื่อ: Sat Apr 08, 2017 18:48
Chlorophyll พิมพ์ว่า:
ทานามิน ประกาศแกรดเรียบร้อย เหลือแค่มายูกิแล้ว  


รายต่อไปกิริน ย้วยปีหน้า

My Locker
1, 2, 3 ... 3457, 3458, 3459 ... 6407, 6408, 6409
ไปที่หน้า
GO
ดูทีวีย้อนหลัง
แสดงความเห็น