BLOG BOARD_B
ติดต่อรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ Email: sale@soccersuck.com
ไว้คราวหน้า X
ไว้คราวหน้า X
ไม่ต้องแสดงข้อความนี้อีกเลย
ไปหน้าที่ 1, 2, 3
ไปที่หน้า
GO
ตั้งกระทู้ใหม่
ฝากรูป
ผู้ตั้ง
ข้อความ
ออฟไลน์
ผู้เยี่ยมชม
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 14 Aug 2012
ตอบ: 2374
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Sat Dec 03, 2022 15:02
ถูกแบนแล้ว
ขออนุญาต​ เลอะเทอะ...... นี่ผมคุยกับอะไรอยู่วะเนี่ย
Kmul พิมพ์ว่า:
Spoil
FreezE[v] พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
ผมมาอ่านอันนี้ ผมเข้าใจแล้วว่าหลักๆท่านมีปัญหากับเรื่องนี้ยังไง และหลายๆคนก็น่าจะคิดแบบนี้
เอาเป็นว่าถ้าไม่ใช่ก็บอกด้วยว่าไม่ใช่นะครับ

ปัญหาหลักที่ว่าคือ พวกท่านคิดว่า เราต้องออกแบบเมือง ออกแบบถนน ให้สอดรับกับพฤติกรรมของคนในพื้นที่นั้นๆ

ปัญหาคือผมเชื่ออีกอย่าง มันเลยคุยกันไม่รู้เรื่อง

ผมเชื่อว่า การออกแบบเมือง จะเปลี่ยนพฤติกรรมคน

ซึ่งผมไม่ได้เชื่อเปล่าๆนะ มีงานวิชาการรองรับด้วย ยกตัวอย่างหนังสือภาษาอังกฤษเล่มนี้ก็ได้ "Livable Streets" by Donald Appleyard

Spoil
อันนี้เป็นงานวิชาการที่ไปศึกษาความแตกต่างของถนนใหญ่ รถหนาแน่น กับถนนเล็ก รถเบาบาง ซึ่งสำรวจในหลายๆมิติเลยล่ะ

ผมยกมา 1 มิติ การที่ถนนใหญ่ รถหนาแน่น จะทำให้ผู้คนมีปฏิสัมพันธ์กันน้อยกว่า การที่ถนนเล็ก เบาบาง

 


ซึ่งเค้าสรุปชัดเจนนะครับ การสร้างเมือง ออกแบบถนน มีผลต่อพฤติกรรมของคน ลองไปอ่านดูได้

อย่างเมืองที่ผมอยู่ เค้าจะเอาเลนไปทำแทรม (ซึ่งก็คล้ายๆการปิดเลนทำ BRT หรือ Bus Lane นั่นแหละ) ก็ถกเถียงกันระหว่างนักการเมืองขวาและซ้าย (นั่นเป็นสาเหตุที่ว่าทำไมผมถึงดึงเรื่องซ้ายขวาเข้ามาเกี่ยวข้อง)

ขวาในยุโรป จะโปรถนน อยากให้ถนนกว้างๆ
ซ้ายในยุโรป จะโปรขนส่งสาธารณะ ทางเดิน จักรยาน

ก็เถียงกันไป อ.มหาวิทยาลัยคนหนึ่งก็ลุกขึ้นพูดกลางวงถกเถียงว่า เราลองจินตนาการดูว่าเราอยากให้เมืองเป็นแบบไหน ก็ให้ออกแบบอย่างนั้น

สุดท้ายฝ่ายซ้ายก็โหวตชนะ ได้เลนมาทำแทรม

ซึ่งถ้าคุณจะเชื่อว่าเมืองต้องออกแบบตามคน ผมก็คงต้องแล้วแต่ครับ แต่แวดวงขนส่ง พร้อมทั้งหลักฐานทางวิชาการ มันชี้ให้เห็นว่า พฤติกรรมคนเปลี่ยนได้ ตามการออกแบบเมือง

ปล.หนังสือที่ผมแนะนำด้ายบนสนุกมาก ควรหาอ่านอย่างมาก และถูกนำไปอ้างอิงในหนังสือเรื่องการออกแบบเมืองอยู่เสมอ  


โอเค ถ้าคุยกันแบบนี้ค่อยรู้เรื่องหน่อยครับ ใช่ครับ

การออกแบบเมืองเพื่อ เปลี่ยนนิสัยคน เป็นเรื่องที่ดี และควรทำ แต่มันจะทำได้ก็ต่อเมื่อ เมืองและคนได้รับการวางรากฐาน อย่างถูกต้องมาล่วงหน้าก่อนแล้ว มันถึงจะสามารถทำได้

แต่ใน กทม อย่างที่ผมตอบไปแล้ว เราไม่ได้รับการวางผังเมืองที่ถูกต้องตั้งแต่แรก มันก็ทำให้นิสัยคนก็ลื่นไหลไปกับความไม่ถูกต้องตามไปด้วย

พอมันใช้เวลานานเข้าการจะไปปรับเปลี่ยน เพื่อหวัง จะเปลี่ยน นิสัยคน มันทำยากมากครับในระยะเวลาสั้นๆ อุปสรรค มหาศาลทั้งในแง่ข้อจำกัดพื้นที่ และ การ Movement ของสังคม

ไม่ใช่ว่าไม่ควรเปลี่ยน แต่มันควรที่จะ Adaptให้สอดคล้อง กั บ บริบทสังคม ที่เป็นมา และพัฒนาให้ดีขึ้น ภายในข้อจำกัดที่มี

ผมเดาถูกใช้มั้ยหละครับ เมืองที่คุณอยู่ ใช้ ระบบขนส่งคน จำพวก Tram ที่ใช้พื้นที่ผิวถนน ได้ โดยไม่กระทบ กับการจราจร ของรถมาก นิสัยพื้นฐานเค้า รถไม่ใช่สิ่งจำเป็นครับ ใช้เพื่อเดินทางระยะไกลๆ ในเมืองเค้าเลือกที่จะใช้ขนส่งมวลชนมากกว่า หรือถ้าใกล้ๆเดินเอาก็ได้

แต่เมืองไทยนี่ตรงกันข้ามครับ จำเป็นต้องต้องดิ้นรนเพื่อมีรถ ไม่งั้นเดินทางลำบาก ขนาดในเมืองก็เถอะ ตัวอย่างแค่นี้ ก็คงพอเข้าใจ ใช่มั้ยครับ

 
 


อ้างอิงจาก:
การออกแบบเมืองเพื่อ เปลี่ยนนิสัยคน เป็นเรื่องที่ดี และควรทำ แต่มันจะทำได้ก็ต่อเมื่อ เมืองและคนได้รับการวางรากฐาน อย่างถูกต้องมาล่วงหน้าก่อนแล้ว มันถึงจะสามารถทำได้

แต่ใน กทม อย่างที่ผมตอบไปแล้ว เราไม่ได้รับการวางผังเมืองที่ถูกต้องตั้งแต่แรก มันก็ทำให้นิสัยคนก็ลื่นไหลไปกับความไม่ถูกต้องตามไปด้วย  

- อันนี้คือท่านพูดตามความรู้สึก หลักฐานทางประวัติศาสตร์ หรืองานวิชาการครับ ถ้าพูดตามความรู้สึกก็ไม่เป็นไร แต่ถ้าพูดตามหลักฐานทางวิชาการอันนี้บอกผมด้วยครับ เผื่อเป็นความรู้ใหม่


อ้างอิงจาก:
ผมเดาถูกใช้มั้ยหละครับ เมืองที่คุณอยู่ ใช้ ระบบขนส่งคน จำพวก Tram ที่ใช้พื้นที่ผิวถนน ได้ โดยไม่กระทบ กับการจราจร ของรถมาก  

- อันนี้ไม่จริงครับ มีแทรมวิ่งบนถนนกับรถเสมอ และหลายอันก็พยายามตัดพื้นที่ถนนมาทำเลนรถเฉพาะ บางทีถึงขั้นปิดถนนเพื่อแทรม/Busเลยครับ


อ้างอิงจาก:
นิสัยพื้นฐานเค้า รถไม่ใช่สิ่งจำเป็นครับ ใช้เพื่อเดินทางระยะไกลๆ ในเมืองเค้าเลือกที่จะใช้ขนส่งมวลชนมากกว่า หรือถ้าใกล้ๆเดินเอาก็ได้  

- ก็กลับไปที่เดิมครับ ว่าเชื่อว่าการมีขนส่งที่ดีทำให้คนไม่ใช้รถ หรือคนเลือกขนส่งแล้วค่อยสร้างตาม

อ้างอิงจาก:
แต่เมืองไทยนี่ตรงกันข้ามครับ จำเป็นต้องต้องดิ้นรนเพื่อมีรถ ไม่งั้นเดินทางลำบาก ขนาดในเมืองก็เถอะ ตัวอย่างแค่นี้ ก็คงพอเข้าใจ ใช่มั้ยครับ  

- ดังนั้นต้องออกแบบเมืองเพื่อเปลี่ยนพฤติกรรมครับ การที่ทำให้ถนนแคบลงนี่คือการบังคับโดยอ้อมให้คนเลิกใช้รถ และการสร้างทางพิเศษสำหรับขนส่งมวลชน คือการดึงดูดคนมาใช้ขนส่งมวลชนครับ
ความคิดนี้ผมไม่ได้คิดเองครับ ผมบอกแล้วว่าตามวิชาการขนส่ง ถ้าอยากไปอ่านเรื่องนี้ต่อลองไปตาม Hermann Knoflacher ที่เป็นศาสตราจารย์ด้านขนส่งของ TU Wien (Vienna University of Technology) ก็ได้ครับ คนนี้มีชื่อเสียงและเป็นผู้นำองค์กรขับเคลื่อนการขนส่งระดับยุโรปและโลกหลายอันมาก ปัญหาคือส่วนใหญ่เป็นภาษาเยอรมัน และถ้าท่านอ่านได้ไม่ว่าด้วยวิธีใด ก็จะรู้สึกเหมือนกับโดนด่าอยู่ตลอดแน่นอนครับ ผมยกโควทหนึ่งมาให้ดูว่าเหมือนโดนด่ายังไง

แต่ผมเตือนอย่างหนึ่ง อ่านแล้วจะเหมือนโดนด่า และผมไม่ได้ด่านะครับ Professor ท่านนี้เป็นคนด่า ดังนั้นอย่าด่าผมกลับครับ

Spoil
อ้างอิงจาก:
Das Auto hat sich wie ein Virus in unserem Gehirn festgesetzt. Und zwar nicht irgendwo, sondern genau da, wo wir mit rationalen Argumenten nicht mehr zu erreichen sind. Wenn es ums Auto geht, reagieren wir dumpfer als Steinzeitmenschen  


https://www.spiegel.de/spiegel/autos-in-innenstaedten-wir-haben-systematisch-stau-erzeugt-a-1196234.html

แปลได้ว่า
รถยนต์ฝังรากในหัวสมองของเราเหมือนกับไวรัส และไปอยู่ในจุดที่เราไม่สามารถถกเถีนงอย่างเป็นเหตุเป็นผลได้ ถ้าเป็นเรื่องเกี่ยวกับรถยนต์ เราจะตอบโต้โง่ยิ่งกว่าคนในยุคหิน  

 

ท่านตีประเด็นผิดครับ ผมไม่ได้สนับสนุนให้คนมาใช้รถยนต์​

ผมสนับสนุนให้คนมาใช้ระบบ ขนส่งมวลชน แบบคนที่อาศัยอยู่ใน มหานครใหญ่ๆ ใช้กัน และผมชอบที่ใช้ ขนส่งมวลชน ไม่ว่าจะใน กทม หรือ เมืองไหนที่ไป

ไปอ่านที่ผม พิมพ์ไว้ดีๆข้างบนครับ ผมพยายามอธิบาย ว่าทำไมสาเหตุว่านิสัย คนไทยถึงเลือกที่ใช้ รถยนต์​มากกว่าระบบขนส่ง

และทำไม มันถึงเปลี่ยนแปลงนิสัยคนไทยได้ยาก ถึงจะบีบคนให้เปลี่ยนด้วย วีธีที่ท่านเรียนมา ถึงจะบีบถนน ให้เล็กลง ใส่ ระบบขนส่ง ลงไปมากขึ้น แต่ด้วยสภาพแวดล้อม รอบตัวมันก็ทำให้พฤติกรรม​ คน ก็จะเอารถลงถนน อีกอยู่ดีครับ คราวนี้จะจากที่จะแก้ปัญหา มันยิ่งไปซ้ำปัญหาเดิม เข้าไปอีก

ผมพูดจากความรู้สึก จากการที่ใช้ชีวิตจริง และ ชอบชีวิตในเมืองมาตลอด และ พูดจาก ปัญหาที่เจอจริงๆ ครับไม่ใช่นักวิชาการและ ไม่มีวิชาการ รองรับอะไรทั้งนั้น

**ไม่ได้ Dis ว่าตำรา แนวคิดวิชาการที่คุณเรียนมาไม่ถูก แต่มันไม่สามารถเอามาใช้ได้ทั้งหมด ถ้าปัจจัย พื้นฐาน และ ความเป็นจริง มันแตกต่างกันครับ**

FACT: ลองถามคนที่วิ่งเส้น สุขุมวิท อโศก สาธร พระราม4 ประจำดูครับ มี รถไฟฟ้า เป็นทางเลือก แต่ทำไม รถยังดิดบรรลัย อยู่ได้ทุกวัน ทั้งๆที่ก็ตามตำรานะ มี ขนส่งมวลชน ระดับดีผ่านในพื้นที่หนาแน่น ควรจะใช้รถให้น้อยลงสิ

อย่าลืมนะครับ ปัญหาที่ถกกัน ไม่ใช่เรื่อง ปริมาณ มันเป็นเรื่องราคา ที่คนจะ Afford ได้ทุกกลุ่มโดยไม่กระทบค่าครองชีพ

ถ้าจะคุยกันในแง่วิชาการ VS ชีวิตจริง ยังไงมันก็ไม่จบครับ
โพสต์บนแอป Soccersuck บน Android
แก้ไขล่าสุดโดย FreezE[v] เมื่อ Sat Dec 03, 2022 15:12, ทั้งหมด 2 ครั้ง
1
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
ผู้เยี่ยมชม
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 11 Nov 2022
ตอบ: 200
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Sat Dec 03, 2022 15:11
ถูกแบนแล้ว
[RE: ขออนุญาต​ เลอะเทอะ...... นี่ผมคุยกับอะไรอยู่วะเนี่ย]
ถ้าเอาง่ายสุดให้ทหารทำการรัฐประหารแล้วยึดBTS กลับมาเป็นของคนไทย​พอจะทำได้มั้ยครับ​ ผู้เกี่ยวข้องก็อุ้มให้หมด​ ทำเหมือนตอนอังกฤษยึดเงินเสี่ยหมีไปเลย
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
นักบอลถ้วย ง.
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 06 May 2007
ตอบ: 786
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Sat Dec 03, 2022 15:12
[RE: ขออนุญาต​ เลอะเทอะ...... นี่ผมคุยกับอะไรอยู่วะเนี่ย]
Kmul พิมพ์ว่า:
Spoil
Spoil
FreezE[v] พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
ผมมาอ่านอันนี้ ผมเข้าใจแล้วว่าหลักๆท่านมีปัญหากับเรื่องนี้ยังไง และหลายๆคนก็น่าจะคิดแบบนี้
เอาเป็นว่าถ้าไม่ใช่ก็บอกด้วยว่าไม่ใช่นะครับ

ปัญหาหลักที่ว่าคือ พวกท่านคิดว่า เราต้องออกแบบเมือง ออกแบบถนน ให้สอดรับกับพฤติกรรมของคนในพื้นที่นั้นๆ

ปัญหาคือผมเชื่ออีกอย่าง มันเลยคุยกันไม่รู้เรื่อง

ผมเชื่อว่า การออกแบบเมือง จะเปลี่ยนพฤติกรรมคน

ซึ่งผมไม่ได้เชื่อเปล่าๆนะ มีงานวิชาการรองรับด้วย ยกตัวอย่างหนังสือภาษาอังกฤษเล่มนี้ก็ได้ "Livable Streets" by Donald Appleyard

Spoil
อันนี้เป็นงานวิชาการที่ไปศึกษาความแตกต่างของถนนใหญ่ รถหนาแน่น กับถนนเล็ก รถเบาบาง ซึ่งสำรวจในหลายๆมิติเลยล่ะ

ผมยกมา 1 มิติ การที่ถนนใหญ่ รถหนาแน่น จะทำให้ผู้คนมีปฏิสัมพันธ์กันน้อยกว่า การที่ถนนเล็ก เบาบาง

 


ซึ่งเค้าสรุปชัดเจนนะครับ การสร้างเมือง ออกแบบถนน มีผลต่อพฤติกรรมของคน ลองไปอ่านดูได้

อย่างเมืองที่ผมอยู่ เค้าจะเอาเลนไปทำแทรม (ซึ่งก็คล้ายๆการปิดเลนทำ BRT หรือ Bus Lane นั่นแหละ) ก็ถกเถียงกันระหว่างนักการเมืองขวาและซ้าย (นั่นเป็นสาเหตุที่ว่าทำไมผมถึงดึงเรื่องซ้ายขวาเข้ามาเกี่ยวข้อง)

ขวาในยุโรป จะโปรถนน อยากให้ถนนกว้างๆ
ซ้ายในยุโรป จะโปรขนส่งสาธารณะ ทางเดิน จักรยาน

ก็เถียงกันไป อ.มหาวิทยาลัยคนหนึ่งก็ลุกขึ้นพูดกลางวงถกเถียงว่า เราลองจินตนาการดูว่าเราอยากให้เมืองเป็นแบบไหน ก็ให้ออกแบบอย่างนั้น

สุดท้ายฝ่ายซ้ายก็โหวตชนะ ได้เลนมาทำแทรม

ซึ่งถ้าคุณจะเชื่อว่าเมืองต้องออกแบบตามคน ผมก็คงต้องแล้วแต่ครับ แต่แวดวงขนส่ง พร้อมทั้งหลักฐานทางวิชาการ มันชี้ให้เห็นว่า พฤติกรรมคนเปลี่ยนได้ ตามการออกแบบเมือง

ปล.หนังสือที่ผมแนะนำด้ายบนสนุกมาก ควรหาอ่านอย่างมาก และถูกนำไปอ้างอิงในหนังสือเรื่องการออกแบบเมืองอยู่เสมอ  


โอเค ถ้าคุยกันแบบนี้ค่อยรู้เรื่องหน่อยครับ ใช่ครับ

การออกแบบเมืองเพื่อ เปลี่ยนนิสัยคน เป็นเรื่องที่ดี และควรทำ แต่มันจะทำได้ก็ต่อเมื่อ เมืองและคนได้รับการวางรากฐาน อย่างถูกต้องมาล่วงหน้าก่อนแล้ว มันถึงจะสามารถทำได้

แต่ใน กทม อย่างที่ผมตอบไปแล้ว เราไม่ได้รับการวางผังเมืองที่ถูกต้องตั้งแต่แรก มันก็ทำให้นิสัยคนก็ลื่นไหลไปกับความไม่ถูกต้องตามไปด้วย

พอมันใช้เวลานานเข้าการจะไปปรับเปลี่ยน เพื่อหวัง จะเปลี่ยน นิสัยคน มันทำยากมากครับในระยะเวลาสั้นๆ อุปสรรค มหาศาลทั้งในแง่ข้อจำกัดพื้นที่ และ การ Movement ของสังคม

ไม่ใช่ว่าไม่ควรเปลี่ยน แต่มันควรที่จะ Adaptให้สอดคล้อง กั บ บริบทสังคม ที่เป็นมา และพัฒนาให้ดีขึ้น ภายในข้อจำกัดที่มี

ผมเดาถูกใช้มั้ยหละครับ เมืองที่คุณอยู่ ใช้ ระบบขนส่งคน จำพวก Tram ที่ใช้พื้นที่ผิวถนน ได้ โดยไม่กระทบ กับการจราจร ของรถมาก นิสัยพื้นฐานเค้า รถไม่ใช่สิ่งจำเป็นครับ ใช้เพื่อเดินทางระยะไกลๆ ในเมืองเค้าเลือกที่จะใช้ขนส่งมวลชนมากกว่า หรือถ้าใกล้ๆเดินเอาก็ได้

แต่เมืองไทยนี่ตรงกันข้ามครับ จำเป็นต้องต้องดิ้นรนเพื่อมีรถ ไม่งั้นเดินทางลำบาก ขนาดในเมืองก็เถอะ ตัวอย่างแค่นี้ ก็คงพอเข้าใจ ใช่มั้ยครับ

 
 


อ้างอิงจาก:
การออกแบบเมืองเพื่อ เปลี่ยนนิสัยคน เป็นเรื่องที่ดี และควรทำ แต่มันจะทำได้ก็ต่อเมื่อ เมืองและคนได้รับการวางรากฐาน อย่างถูกต้องมาล่วงหน้าก่อนแล้ว มันถึงจะสามารถทำได้

แต่ใน กทม อย่างที่ผมตอบไปแล้ว เราไม่ได้รับการวางผังเมืองที่ถูกต้องตั้งแต่แรก มันก็ทำให้นิสัยคนก็ลื่นไหลไปกับความไม่ถูกต้องตามไปด้วย  

- อันนี้คือท่านพูดตามความรู้สึก หลักฐานทางประวัติศาสตร์ หรืองานวิชาการครับ ถ้าพูดตามความรู้สึกก็ไม่เป็นไร แต่ถ้าพูดตามหลักฐานทางวิชาการอันนี้บอกผมด้วยครับ เผื่อเป็นความรู้ใหม่


อ้างอิงจาก:
ผมเดาถูกใช้มั้ยหละครับ เมืองที่คุณอยู่ ใช้ ระบบขนส่งคน จำพวก Tram ที่ใช้พื้นที่ผิวถนน ได้ โดยไม่กระทบ กับการจราจร ของรถมาก  

- อันนี้ไม่จริงครับ มีแทรมวิ่งบนถนนกับรถเสมอ และหลายอันก็พยายามตัดพื้นที่ถนนมาทำเลนรถเฉพาะ บางทีถึงขั้นปิดถนนเพื่อแทรม/Busเลยครับ


อ้างอิงจาก:
นิสัยพื้นฐานเค้า รถไม่ใช่สิ่งจำเป็นครับ ใช้เพื่อเดินทางระยะไกลๆ ในเมืองเค้าเลือกที่จะใช้ขนส่งมวลชนมากกว่า หรือถ้าใกล้ๆเดินเอาก็ได้  

- ก็กลับไปที่เดิมครับ ว่าเชื่อว่าการมีขนส่งที่ดีทำให้คนไม่ใช้รถ หรือคนเลือกขนส่งแล้วค่อยสร้างตาม

อ้างอิงจาก:
แต่เมืองไทยนี่ตรงกันข้ามครับ จำเป็นต้องต้องดิ้นรนเพื่อมีรถ ไม่งั้นเดินทางลำบาก ขนาดในเมืองก็เถอะ ตัวอย่างแค่นี้ ก็คงพอเข้าใจ ใช่มั้ยครับ  

- ดังนั้นต้องออกแบบเมืองเพื่อเปลี่ยนพฤติกรรมครับ การที่ทำให้ถนนแคบลงนี่คือการบังคับโดยอ้อมให้คนเลิกใช้รถ และการสร้างทางพิเศษสำหรับขนส่งมวลชน คือการดึงดูดคนมาใช้ขนส่งมวลชนครับ
ความคิดนี้ผมไม่ได้คิดเองครับ ผมบอกแล้วว่าตามวิชาการขนส่ง ถ้าอยากไปอ่านเรื่องนี้ต่อลองไปตาม Hermann Knoflacher ที่เป็นศาสตราจารย์ด้านขนส่งของ TU Wien (Vienna University of Technology) ก็ได้ครับ คนนี้มีชื่อเสียงและเป็นผู้นำองค์กรขับเคลื่อนการขนส่งระดับยุโรปและโลกหลายอันมาก ปัญหาคือส่วนใหญ่เป็นภาษาเยอรมัน และถ้าท่านอ่านได้ไม่ว่าด้วยวิธีใด ก็จะรู้สึกเหมือนกับโดนด่าอยู่ตลอดแน่นอนครับ ผมยกโควทหนึ่งมาให้ดูว่าเหมือนโดนด่ายังไง

แต่ผมเตือนอย่างหนึ่ง อ่านแล้วจะเหมือนโดนด่า และผมไม่ได้ด่านะครับ Professor ท่านนี้เป็นคนด่า ดังนั้นอย่าด่าผมกลับครับ

Spoil
อ้างอิงจาก:
Das Auto hat sich wie ein Virus in unserem Gehirn festgesetzt. Und zwar nicht irgendwo, sondern genau da, wo wir mit rationalen Argumenten nicht mehr zu erreichen sind. Wenn es ums Auto geht, reagieren wir dumpfer als Steinzeitmenschen  


https://www.spiegel.de/spiegel/autos-in-innenstaedten-wir-haben-systematisch-stau-erzeugt-a-1196234.html

แปลได้ว่า
รถยนต์ฝังรากในหัวสมองของเราเหมือนกับไวรัส และไปอยู่ในจุดที่เราไม่สามารถถกเถีนงอย่างเป็นเหตุเป็นผลได้ ถ้าเป็นเรื่องเกี่ยวกับรถยนต์ เราจะตอบโต้โง่ยิ่งกว่าคนในยุคหิน  
 

 


อันนี้ขอเข้ามาร่วมวงพูดคุยด้วยครับ

มีการค้นคว้า เกี่ยวกับพฤติกรรมมนุษย์ ควบคู่กับสภาพ “อากาศ” ด้วยไหมครับ

เนื่องด้วยปัจจัย อีกอย่างหนึ่งของประเทศไทย กับทางยุโรป ญี่ปุ่น ฯลฯ ที่แตกต่างกันคือความร้อน

นอกจากผังเมืองที่ ไม่ทั่วถึงแล้ว

อย่างเช่น การอาศัยอยู่ในกรุงเทพฯ ผู้คนที่เข้าถึงรถไฟฟ้า ด้วยระยะทางการเดินเท้า เรียกว่าน้อยมากๆ

ถ้าคุณบอกว่า วางระบบขนส่ง ใต้ทางรถไฟฟ้า แม้แต่เส้นพระราม 3

การที่คนทั่วไปจะเดินทางมาถึงจุดขึ้นรถ อาจจะต้องใช้สองแถว วินมอไซค์ เดิน(ยากมาก เพราะไกล)

คนส่วนใหญ่ในเมือง จึงเลือกซื้อ “รถ” เพื่อเป็นพาหนะการเดินทาง

ซึ่งการจะขยาย ช่องทางเดินรถไปในเขต ตรอก ซอก ซอย ยิ่งต้องเพิ่มจำนวนเยอะมาก

กับงบประมาณ ในปัจจุบัน ที่เห็นได้ว่า ขนาดรถเมล์ ยังเป็นรุ่นเก่า มากกกกกก ยี่สิบปี

และตรอกซอกซอย ในไทย ก็เยอะมากเช่นกัน

ผู้คน ที่จะเดินทางรถสาธารณะ ไม่ใช่ ว่าไม่อยากใช้ แต่มันเข้าถึงลำบาก

พอมีฐานะหน่อย ก็จะซื้อรถ เพื่ออำนวยความสะดวก ทั้งเรื่องของการเดินทาง และปัจจัยทางด้านอากาศ ฯลฯ

ถ้าขยายสเกลไปยัง การขนส่ง ผมว่า หัวข้อมันไปไกลกว่าการ แก้เผ็ด BTS อีกนะ

(อย่างตอนแรก ที่มีการสร้าง BTS ก็หวังว่าจะมาช่วยเรืองรถติด แต่สุดท้าย รถก็ติดเหมือนเดิม)
1
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออนไลน์
ดาวเตะกัลโช่
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 20 Sep 2010
ตอบ: 3592
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Sat Dec 03, 2022 15:13
[RE: ขออนุญาต​ เลอะเทอะ...... นี่ผมคุยกับอะไรอยู่วะเนี่ย]
Spoil
FreezE[v] พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
Spoil
FreezE[v] พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
ผมมาอ่านอันนี้ ผมเข้าใจแล้วว่าหลักๆท่านมีปัญหากับเรื่องนี้ยังไง และหลายๆคนก็น่าจะคิดแบบนี้
เอาเป็นว่าถ้าไม่ใช่ก็บอกด้วยว่าไม่ใช่นะครับ

ปัญหาหลักที่ว่าคือ พวกท่านคิดว่า เราต้องออกแบบเมือง ออกแบบถนน ให้สอดรับกับพฤติกรรมของคนในพื้นที่นั้นๆ

ปัญหาคือผมเชื่ออีกอย่าง มันเลยคุยกันไม่รู้เรื่อง

ผมเชื่อว่า การออกแบบเมือง จะเปลี่ยนพฤติกรรมคน

ซึ่งผมไม่ได้เชื่อเปล่าๆนะ มีงานวิชาการรองรับด้วย ยกตัวอย่างหนังสือภาษาอังกฤษเล่มนี้ก็ได้ "Livable Streets" by Donald Appleyard

Spoil
อันนี้เป็นงานวิชาการที่ไปศึกษาความแตกต่างของถนนใหญ่ รถหนาแน่น กับถนนเล็ก รถเบาบาง ซึ่งสำรวจในหลายๆมิติเลยล่ะ

ผมยกมา 1 มิติ การที่ถนนใหญ่ รถหนาแน่น จะทำให้ผู้คนมีปฏิสัมพันธ์กันน้อยกว่า การที่ถนนเล็ก เบาบาง

 


ซึ่งเค้าสรุปชัดเจนนะครับ การสร้างเมือง ออกแบบถนน มีผลต่อพฤติกรรมของคน ลองไปอ่านดูได้

อย่างเมืองที่ผมอยู่ เค้าจะเอาเลนไปทำแทรม (ซึ่งก็คล้ายๆการปิดเลนทำ BRT หรือ Bus Lane นั่นแหละ) ก็ถกเถียงกันระหว่างนักการเมืองขวาและซ้าย (นั่นเป็นสาเหตุที่ว่าทำไมผมถึงดึงเรื่องซ้ายขวาเข้ามาเกี่ยวข้อง)

ขวาในยุโรป จะโปรถนน อยากให้ถนนกว้างๆ
ซ้ายในยุโรป จะโปรขนส่งสาธารณะ ทางเดิน จักรยาน

ก็เถียงกันไป อ.มหาวิทยาลัยคนหนึ่งก็ลุกขึ้นพูดกลางวงถกเถียงว่า เราลองจินตนาการดูว่าเราอยากให้เมืองเป็นแบบไหน ก็ให้ออกแบบอย่างนั้น

สุดท้ายฝ่ายซ้ายก็โหวตชนะ ได้เลนมาทำแทรม

ซึ่งถ้าคุณจะเชื่อว่าเมืองต้องออกแบบตามคน ผมก็คงต้องแล้วแต่ครับ แต่แวดวงขนส่ง พร้อมทั้งหลักฐานทางวิชาการ มันชี้ให้เห็นว่า พฤติกรรมคนเปลี่ยนได้ ตามการออกแบบเมือง

ปล.หนังสือที่ผมแนะนำด้ายบนสนุกมาก ควรหาอ่านอย่างมาก และถูกนำไปอ้างอิงในหนังสือเรื่องการออกแบบเมืองอยู่เสมอ  


โอเค ถ้าคุยกันแบบนี้ค่อยรู้เรื่องหน่อยครับ ใช่ครับ

การออกแบบเมืองเพื่อ เปลี่ยนนิสัยคน เป็นเรื่องที่ดี และควรทำ แต่มันจะทำได้ก็ต่อเมื่อ เมืองและคนได้รับการวางรากฐาน อย่างถูกต้องมาล่วงหน้าก่อนแล้ว มันถึงจะสามารถทำได้

แต่ใน กทม อย่างที่ผมตอบไปแล้ว เราไม่ได้รับการวางผังเมืองที่ถูกต้องตั้งแต่แรก มันก็ทำให้นิสัยคนก็ลื่นไหลไปกับความไม่ถูกต้องตามไปด้วย

พอมันใช้เวลานานเข้าการจะไปปรับเปลี่ยน เพื่อหวัง จะเปลี่ยน นิสัยคน มันทำยากมากครับในระยะเวลาสั้นๆ อุปสรรค มหาศาลทั้งในแง่ข้อจำกัดพื้นที่ และ การ Movement ของสังคม

ไม่ใช่ว่าไม่ควรเปลี่ยน แต่มันควรที่จะ Adaptให้สอดคล้อง กั บ บริบทสังคม ที่เป็นมา และพัฒนาให้ดีขึ้น ภายในข้อจำกัดที่มี

ผมเดาถูกใช้มั้ยหละครับ เมืองที่คุณอยู่ ใช้ ระบบขนส่งคน จำพวก Tram ที่ใช้พื้นที่ผิวถนน ได้ โดยไม่กระทบ กับการจราจร ของรถมาก นิสัยพื้นฐานเค้า รถไม่ใช่สิ่งจำเป็นครับ ใช้เพื่อเดินทางระยะไกลๆ ในเมืองเค้าเลือกที่จะใช้ขนส่งมวลชนมากกว่า หรือถ้าใกล้ๆเดินเอาก็ได้

แต่เมืองไทยนี่ตรงกันข้ามครับ จำเป็นต้องต้องดิ้นรนเพื่อมีรถ ไม่งั้นเดินทางลำบาก ขนาดในเมืองก็เถอะ ตัวอย่างแค่นี้ ก็คงพอเข้าใจ ใช่มั้ยครับ

 
 


อ้างอิงจาก:
การออกแบบเมืองเพื่อ เปลี่ยนนิสัยคน เป็นเรื่องที่ดี และควรทำ แต่มันจะทำได้ก็ต่อเมื่อ เมืองและคนได้รับการวางรากฐาน อย่างถูกต้องมาล่วงหน้าก่อนแล้ว มันถึงจะสามารถทำได้

แต่ใน กทม อย่างที่ผมตอบไปแล้ว เราไม่ได้รับการวางผังเมืองที่ถูกต้องตั้งแต่แรก มันก็ทำให้นิสัยคนก็ลื่นไหลไปกับความไม่ถูกต้องตามไปด้วย  

- อันนี้คือท่านพูดตามความรู้สึก หลักฐานทางประวัติศาสตร์ หรืองานวิชาการครับ ถ้าพูดตามความรู้สึกก็ไม่เป็นไร แต่ถ้าพูดตามหลักฐานทางวิชาการอันนี้บอกผมด้วยครับ เผื่อเป็นความรู้ใหม่


อ้างอิงจาก:
ผมเดาถูกใช้มั้ยหละครับ เมืองที่คุณอยู่ ใช้ ระบบขนส่งคน จำพวก Tram ที่ใช้พื้นที่ผิวถนน ได้ โดยไม่กระทบ กับการจราจร ของรถมาก  

- อันนี้ไม่จริงครับ มีแทรมวิ่งบนถนนกับรถเสมอ และหลายอันก็พยายามตัดพื้นที่ถนนมาทำเลนรถเฉพาะ บางทีถึงขั้นปิดถนนเพื่อแทรม/Busเลยครับ


อ้างอิงจาก:
นิสัยพื้นฐานเค้า รถไม่ใช่สิ่งจำเป็นครับ ใช้เพื่อเดินทางระยะไกลๆ ในเมืองเค้าเลือกที่จะใช้ขนส่งมวลชนมากกว่า หรือถ้าใกล้ๆเดินเอาก็ได้  

- ก็กลับไปที่เดิมครับ ว่าเชื่อว่าการมีขนส่งที่ดีทำให้คนไม่ใช้รถ หรือคนเลือกขนส่งแล้วค่อยสร้างตาม

อ้างอิงจาก:
แต่เมืองไทยนี่ตรงกันข้ามครับ จำเป็นต้องต้องดิ้นรนเพื่อมีรถ ไม่งั้นเดินทางลำบาก ขนาดในเมืองก็เถอะ ตัวอย่างแค่นี้ ก็คงพอเข้าใจ ใช่มั้ยครับ  

- ดังนั้นต้องออกแบบเมืองเพื่อเปลี่ยนพฤติกรรมครับ การที่ทำให้ถนนแคบลงนี่คือการบังคับโดยอ้อมให้คนเลิกใช้รถ และการสร้างทางพิเศษสำหรับขนส่งมวลชน คือการดึงดูดคนมาใช้ขนส่งมวลชนครับ
ความคิดนี้ผมไม่ได้คิดเองครับ ผมบอกแล้วว่าตามวิชาการขนส่ง ถ้าอยากไปอ่านเรื่องนี้ต่อลองไปตาม Hermann Knoflacher ที่เป็นศาสตราจารย์ด้านขนส่งของ TU Wien (Vienna University of Technology) ก็ได้ครับ คนนี้มีชื่อเสียงและเป็นผู้นำองค์กรขับเคลื่อนการขนส่งระดับยุโรปและโลกหลายอันมาก ปัญหาคือส่วนใหญ่เป็นภาษาเยอรมัน และถ้าท่านอ่านได้ไม่ว่าด้วยวิธีใด ก็จะรู้สึกเหมือนกับโดนด่าอยู่ตลอดแน่นอนครับ ผมยกโควทหนึ่งมาให้ดูว่าเหมือนโดนด่ายังไง

แต่ผมเตือนอย่างหนึ่ง อ่านแล้วจะเหมือนโดนด่า และผมไม่ได้ด่านะครับ Professor ท่านนี้เป็นคนด่า ดังนั้นอย่าด่าผมกลับครับ

Spoil
อ้างอิงจาก:
Das Auto hat sich wie ein Virus in unserem Gehirn festgesetzt. Und zwar nicht irgendwo, sondern genau da, wo wir mit rationalen Argumenten nicht mehr zu erreichen sind. Wenn es ums Auto geht, reagieren wir dumpfer als Steinzeitmenschen  


https://www.spiegel.de/spiegel/autos-in-innenstaedten-wir-haben-systematisch-stau-erzeugt-a-1196234.html

แปลได้ว่า
รถยนต์ฝังรากในหัวสมองของเราเหมือนกับไวรัส และไปอยู่ในจุดที่เราไม่สามารถถกเถีนงอย่างเป็นเหตุเป็นผลได้ ถ้าเป็นเรื่องเกี่ยวกับรถยนต์ เราจะตอบโต้โง่ยิ่งกว่าคนในยุคหิน  

 

ท่านตีประเด็นผิดครับ ผมไม่ได้สนับสนุนให้คนมาใช้รถยนต์​

ผมสนับสนุนให้คนมาใช้ระบบ ขนส่งมวลชน แบบคนที่อาศัยอยู่ใน มหานครใหญ่ๆ ใช้กัน และผมชอบที่ใช้ ขนส่งมวลชน ไม่ว่าจะใน กทม หรือ เมืองไหนที่ไป

ไปอ่านที่ผม พิมพ์ไว้ดีๆข้างบนครับ ผมพยายามอธิบาย ว่าทำไมสาเหตุว่านิสัย คนไทยถึงเลือกที่ใช้ รถยนต์​มากกว่าระบบขนส่ง

และทำไม มันถึงเปลี่ยนแปลงนิสัยคนไทยได้ยาก ถึงจะบีบคนให้เปลี่ยนด้วย วีธีที่ท่านเรียนมา ถึงจะบีบถนน ให้เล็กลง ใส่ ระบบขนส่ง ลงไปมากขึ้น แต่ด้วยสภาพแวดล้อม รอบตัวมันก็ทำให้พฤติกรรม​ คน ก็จะเอารถลงถนน อีกอยู่ดีครับ คราวนี้จะจากที่จะแก้ปัญหา มันยิ่งไปซ้ำปัญหาเดิม เข้าไปอีก

พูดผมจากความรู้สึก จากการที่ใช้ชีวิตจริง และ ชอบชีวิตในเมืองมาตลอดครับไม่ใช่นักวิชาการและ ไม่มีวิชาการ รองรับอะไรทั้งนั้น

**ไม่ได้ Dis ว่าตำรา แนวคิดวิชาการที่คุณเรียนมาไม่ถูก แต่มันไม่สามารถเอามาใช้ได้ทั้งหมด ถ้าปัจจัย พื้นฐาน และ ความเป็นจริง มันแตกต่างกันครับ**

ถ้าจะคุยกันในแง่วิชาการ VS ชีวิตจริง ยังไงมันก็ไม่จบครับ
 
 


คือท่านพิมพ์ต่อหลังจากที่ผม Quote มาแล้วอ่ะนะ ไม่งั้นผมก็จะได้ตอบประเด็นสภาพอากาศ

ุถ้าท่านไปอยู่ยุโรปตอนหน้าหนาว ท่านจะเห้นว่าหนาวแบบเข้ากระดูก ทำไมคนถึงยังใช้ขนส่งสาธารณะกันอยู่?

หรือถ้าบอกว่า หนาวมันทนได้ ร้อนทนไม่ได้ ผมแนะนำให้ลองไปอิตาลีตอนหน้าร้อน ก็ร้อนจัดๆนี่แหละ อุณหภูมิก็ขึ้นไปถึง30 กว่าหรือบางเมืองก็เกือบ 40 ทำไมเค้ายังถึงเดิน ถึงยังใช้ขนส่งสาธารณะกันได้อยู่?

แม้แต่ญี่ปุ่น ผมเคยไปอยู่มา จำได้เลยหน้าร้อนแรก ขึ้นไปสามสิบปลายๆ ทำไมคนยังใช้ขนส่งสาธารณะกันอยู่?

คำถามเหล่านี้ของผมอยากให้ท่านลองคิดว่า สิ่งที่ท่านคิด เชื่อ มันจริงหรือ หรือแค่เรายังเชื่อว่า ไทยนั้น unique ไม่เหมือนใคร เหมือนกับหลายๆเรื่องที่เราถูกเป่าหูให้เชื่อแบบนั้น (เช่นเรื่องสถาบัน ก็ใช้ argument เดียวกันนี่แหละ)
แก้ไขล่าสุดโดย Kmul เมื่อ Sat Dec 03, 2022 15:14, ทั้งหมด 1 ครั้ง
1
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออนไลน์
ดาวเตะกัลโช่
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 20 Sep 2010
ตอบ: 3592
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Sat Dec 03, 2022 15:21
[RE: ขออนุญาต​ เลอะเทอะ...... นี่ผมคุยกับอะไรอยู่วะเนี่ย]
tunggggggggg พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
Spoil
Spoil
FreezE[v] พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
ผมมาอ่านอันนี้ ผมเข้าใจแล้วว่าหลักๆท่านมีปัญหากับเรื่องนี้ยังไง และหลายๆคนก็น่าจะคิดแบบนี้
เอาเป็นว่าถ้าไม่ใช่ก็บอกด้วยว่าไม่ใช่นะครับ

ปัญหาหลักที่ว่าคือ พวกท่านคิดว่า เราต้องออกแบบเมือง ออกแบบถนน ให้สอดรับกับพฤติกรรมของคนในพื้นที่นั้นๆ

ปัญหาคือผมเชื่ออีกอย่าง มันเลยคุยกันไม่รู้เรื่อง

ผมเชื่อว่า การออกแบบเมือง จะเปลี่ยนพฤติกรรมคน

ซึ่งผมไม่ได้เชื่อเปล่าๆนะ มีงานวิชาการรองรับด้วย ยกตัวอย่างหนังสือภาษาอังกฤษเล่มนี้ก็ได้ "Livable Streets" by Donald Appleyard

Spoil
อันนี้เป็นงานวิชาการที่ไปศึกษาความแตกต่างของถนนใหญ่ รถหนาแน่น กับถนนเล็ก รถเบาบาง ซึ่งสำรวจในหลายๆมิติเลยล่ะ

ผมยกมา 1 มิติ การที่ถนนใหญ่ รถหนาแน่น จะทำให้ผู้คนมีปฏิสัมพันธ์กันน้อยกว่า การที่ถนนเล็ก เบาบาง

 


ซึ่งเค้าสรุปชัดเจนนะครับ การสร้างเมือง ออกแบบถนน มีผลต่อพฤติกรรมของคน ลองไปอ่านดูได้

อย่างเมืองที่ผมอยู่ เค้าจะเอาเลนไปทำแทรม (ซึ่งก็คล้ายๆการปิดเลนทำ BRT หรือ Bus Lane นั่นแหละ) ก็ถกเถียงกันระหว่างนักการเมืองขวาและซ้าย (นั่นเป็นสาเหตุที่ว่าทำไมผมถึงดึงเรื่องซ้ายขวาเข้ามาเกี่ยวข้อง)

ขวาในยุโรป จะโปรถนน อยากให้ถนนกว้างๆ
ซ้ายในยุโรป จะโปรขนส่งสาธารณะ ทางเดิน จักรยาน

ก็เถียงกันไป อ.มหาวิทยาลัยคนหนึ่งก็ลุกขึ้นพูดกลางวงถกเถียงว่า เราลองจินตนาการดูว่าเราอยากให้เมืองเป็นแบบไหน ก็ให้ออกแบบอย่างนั้น

สุดท้ายฝ่ายซ้ายก็โหวตชนะ ได้เลนมาทำแทรม

ซึ่งถ้าคุณจะเชื่อว่าเมืองต้องออกแบบตามคน ผมก็คงต้องแล้วแต่ครับ แต่แวดวงขนส่ง พร้อมทั้งหลักฐานทางวิชาการ มันชี้ให้เห็นว่า พฤติกรรมคนเปลี่ยนได้ ตามการออกแบบเมือง

ปล.หนังสือที่ผมแนะนำด้ายบนสนุกมาก ควรหาอ่านอย่างมาก และถูกนำไปอ้างอิงในหนังสือเรื่องการออกแบบเมืองอยู่เสมอ  


โอเค ถ้าคุยกันแบบนี้ค่อยรู้เรื่องหน่อยครับ ใช่ครับ

การออกแบบเมืองเพื่อ เปลี่ยนนิสัยคน เป็นเรื่องที่ดี และควรทำ แต่มันจะทำได้ก็ต่อเมื่อ เมืองและคนได้รับการวางรากฐาน อย่างถูกต้องมาล่วงหน้าก่อนแล้ว มันถึงจะสามารถทำได้

แต่ใน กทม อย่างที่ผมตอบไปแล้ว เราไม่ได้รับการวางผังเมืองที่ถูกต้องตั้งแต่แรก มันก็ทำให้นิสัยคนก็ลื่นไหลไปกับความไม่ถูกต้องตามไปด้วย

พอมันใช้เวลานานเข้าการจะไปปรับเปลี่ยน เพื่อหวัง จะเปลี่ยน นิสัยคน มันทำยากมากครับในระยะเวลาสั้นๆ อุปสรรค มหาศาลทั้งในแง่ข้อจำกัดพื้นที่ และ การ Movement ของสังคม

ไม่ใช่ว่าไม่ควรเปลี่ยน แต่มันควรที่จะ Adaptให้สอดคล้อง กั บ บริบทสังคม ที่เป็นมา และพัฒนาให้ดีขึ้น ภายในข้อจำกัดที่มี

ผมเดาถูกใช้มั้ยหละครับ เมืองที่คุณอยู่ ใช้ ระบบขนส่งคน จำพวก Tram ที่ใช้พื้นที่ผิวถนน ได้ โดยไม่กระทบ กับการจราจร ของรถมาก นิสัยพื้นฐานเค้า รถไม่ใช่สิ่งจำเป็นครับ ใช้เพื่อเดินทางระยะไกลๆ ในเมืองเค้าเลือกที่จะใช้ขนส่งมวลชนมากกว่า หรือถ้าใกล้ๆเดินเอาก็ได้

แต่เมืองไทยนี่ตรงกันข้ามครับ จำเป็นต้องต้องดิ้นรนเพื่อมีรถ ไม่งั้นเดินทางลำบาก ขนาดในเมืองก็เถอะ ตัวอย่างแค่นี้ ก็คงพอเข้าใจ ใช่มั้ยครับ

 
 


อ้างอิงจาก:
การออกแบบเมืองเพื่อ เปลี่ยนนิสัยคน เป็นเรื่องที่ดี และควรทำ แต่มันจะทำได้ก็ต่อเมื่อ เมืองและคนได้รับการวางรากฐาน อย่างถูกต้องมาล่วงหน้าก่อนแล้ว มันถึงจะสามารถทำได้

แต่ใน กทม อย่างที่ผมตอบไปแล้ว เราไม่ได้รับการวางผังเมืองที่ถูกต้องตั้งแต่แรก มันก็ทำให้นิสัยคนก็ลื่นไหลไปกับความไม่ถูกต้องตามไปด้วย  

- อันนี้คือท่านพูดตามความรู้สึก หลักฐานทางประวัติศาสตร์ หรืองานวิชาการครับ ถ้าพูดตามความรู้สึกก็ไม่เป็นไร แต่ถ้าพูดตามหลักฐานทางวิชาการอันนี้บอกผมด้วยครับ เผื่อเป็นความรู้ใหม่


อ้างอิงจาก:
ผมเดาถูกใช้มั้ยหละครับ เมืองที่คุณอยู่ ใช้ ระบบขนส่งคน จำพวก Tram ที่ใช้พื้นที่ผิวถนน ได้ โดยไม่กระทบ กับการจราจร ของรถมาก  

- อันนี้ไม่จริงครับ มีแทรมวิ่งบนถนนกับรถเสมอ และหลายอันก็พยายามตัดพื้นที่ถนนมาทำเลนรถเฉพาะ บางทีถึงขั้นปิดถนนเพื่อแทรม/Busเลยครับ


อ้างอิงจาก:
นิสัยพื้นฐานเค้า รถไม่ใช่สิ่งจำเป็นครับ ใช้เพื่อเดินทางระยะไกลๆ ในเมืองเค้าเลือกที่จะใช้ขนส่งมวลชนมากกว่า หรือถ้าใกล้ๆเดินเอาก็ได้  

- ก็กลับไปที่เดิมครับ ว่าเชื่อว่าการมีขนส่งที่ดีทำให้คนไม่ใช้รถ หรือคนเลือกขนส่งแล้วค่อยสร้างตาม

อ้างอิงจาก:
แต่เมืองไทยนี่ตรงกันข้ามครับ จำเป็นต้องต้องดิ้นรนเพื่อมีรถ ไม่งั้นเดินทางลำบาก ขนาดในเมืองก็เถอะ ตัวอย่างแค่นี้ ก็คงพอเข้าใจ ใช่มั้ยครับ  

- ดังนั้นต้องออกแบบเมืองเพื่อเปลี่ยนพฤติกรรมครับ การที่ทำให้ถนนแคบลงนี่คือการบังคับโดยอ้อมให้คนเลิกใช้รถ และการสร้างทางพิเศษสำหรับขนส่งมวลชน คือการดึงดูดคนมาใช้ขนส่งมวลชนครับ
ความคิดนี้ผมไม่ได้คิดเองครับ ผมบอกแล้วว่าตามวิชาการขนส่ง ถ้าอยากไปอ่านเรื่องนี้ต่อลองไปตาม Hermann Knoflacher ที่เป็นศาสตราจารย์ด้านขนส่งของ TU Wien (Vienna University of Technology) ก็ได้ครับ คนนี้มีชื่อเสียงและเป็นผู้นำองค์กรขับเคลื่อนการขนส่งระดับยุโรปและโลกหลายอันมาก ปัญหาคือส่วนใหญ่เป็นภาษาเยอรมัน และถ้าท่านอ่านได้ไม่ว่าด้วยวิธีใด ก็จะรู้สึกเหมือนกับโดนด่าอยู่ตลอดแน่นอนครับ ผมยกโควทหนึ่งมาให้ดูว่าเหมือนโดนด่ายังไง

แต่ผมเตือนอย่างหนึ่ง อ่านแล้วจะเหมือนโดนด่า และผมไม่ได้ด่านะครับ Professor ท่านนี้เป็นคนด่า ดังนั้นอย่าด่าผมกลับครับ

Spoil
อ้างอิงจาก:
Das Auto hat sich wie ein Virus in unserem Gehirn festgesetzt. Und zwar nicht irgendwo, sondern genau da, wo wir mit rationalen Argumenten nicht mehr zu erreichen sind. Wenn es ums Auto geht, reagieren wir dumpfer als Steinzeitmenschen  


https://www.spiegel.de/spiegel/autos-in-innenstaedten-wir-haben-systematisch-stau-erzeugt-a-1196234.html

แปลได้ว่า
รถยนต์ฝังรากในหัวสมองของเราเหมือนกับไวรัส และไปอยู่ในจุดที่เราไม่สามารถถกเถีนงอย่างเป็นเหตุเป็นผลได้ ถ้าเป็นเรื่องเกี่ยวกับรถยนต์ เราจะตอบโต้โง่ยิ่งกว่าคนในยุคหิน  
 

 


อันนี้ขอเข้ามาร่วมวงพูดคุยด้วยครับ

มีการค้นคว้า เกี่ยวกับพฤติกรรมมนุษย์ ควบคู่กับสภาพ “อากาศ” ด้วยไหมครับ

เนื่องด้วยปัจจัย อีกอย่างหนึ่งของประเทศไทย กับทางยุโรป ญี่ปุ่น ฯลฯ ที่แตกต่างกันคือความร้อน

นอกจากผังเมืองที่ ไม่ทั่วถึงแล้ว

อย่างเช่น การอาศัยอยู่ในกรุงเทพฯ ผู้คนที่เข้าถึงรถไฟฟ้า ด้วยระยะทางการเดินเท้า เรียกว่าน้อยมากๆ

ถ้าคุณบอกว่า วางระบบขนส่ง ใต้ทางรถไฟฟ้า แม้แต่เส้นพระราม 3

การที่คนทั่วไปจะเดินทางมาถึงจุดขึ้นรถ อาจจะต้องใช้สองแถว วินมอไซค์ เดิน(ยากมาก เพราะไกล)

คนส่วนใหญ่ในเมือง จึงเลือกซื้อ “รถ” เพื่อเป็นพาหนะการเดินทาง

ซึ่งการจะขยาย ช่องทางเดินรถไปในเขต ตรอก ซอก ซอย ยิ่งต้องเพิ่มจำนวนเยอะมาก

กับงบประมาณ ในปัจจุบัน ที่เห็นได้ว่า ขนาดรถเมล์ ยังเป็นรุ่นเก่า มากกกกกก ยี่สิบปี

และตรอกซอกซอย ในไทย ก็เยอะมากเช่นกัน

ผู้คน ที่จะเดินทางรถสาธารณะ ไม่ใช่ ว่าไม่อยากใช้ แต่มันเข้าถึงลำบาก

พอมีฐานะหน่อย ก็จะซื้อรถ เพื่ออำนวยความสะดวก ทั้งเรื่องของการเดินทาง และปัจจัยทางด้านอากาศ ฯลฯ

ถ้าขยายสเกลไปยัง การขนส่ง ผมว่า หัวข้อมันไปไกลกว่าการ แก้เผ็ด BTS อีกนะ

(อย่างตอนแรก ที่มีการสร้าง BTS ก็หวังว่าจะมาช่วยเรืองรถติด แต่สุดท้าย รถก็ติดเหมือนเดิม)  


มีแน่นอนครับภูมิอากาศควบคุมพฤติกรรมมนุษย์ได้อย่างหนึ่ง ไม่ผิดแน่นอนครับ

ส่วนเรื่องอากาศว่าไทยไม่เหมือนที่อื่น ผมตอบไปข้างบนแล้ว ถ้าแย้งยังไงก็ค่อยมาต่อได้ครับ

งบประมาณที่น้อย เพราะเราเอาไปทำอย่างอื่นมากกว่าครับ ซึ่งอันนี้ไม่น่าเกี่ยวกับเรื่องว่าเราจะทำรถเมล์ไปสู้กับ BTSหรือไม่ แต่โดยภาพรวมแล้วรัฐไทยลงทุนไปกับถนนให้รถส่วนบุคคลเยอะมากๆครับ

ซึ่งก็แปลกที่เราไม่เคยตั้งคำถามเลยว่า งบประมาณสร้าง/ซ่อมถนนนั้น มันคุ้มไหม แต่พอเป็นเรื่องขนส่งมวลชนกลับโดนตั้งคำถามซะงั้นครับ

ส่วนทำไมถึงสร้างถนนเยอะ ผมเดาเอาว่าสาเหตุน่าจะประมาณนี้
1. รมต / สส ส่วนใหญ่จบUSA เยอะ ซึ่งเป็นแหล่งการสร้างถนน
2. ชนชั้นใดก็ทำเพื่อชนชั้นนั้น คนอยู่ในสภา / รมต ปกติขัยรถ เค้าจะเอาเงินมาลงอย่างอื่นได้ยังไง
3. สร้างถนน corruption ง่าย เป็นเรื่องที่เคยๆทำมา
แก้ไขล่าสุดโดย Kmul เมื่อ Sat Dec 03, 2022 15:22, ทั้งหมด 1 ครั้ง
2
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
นักบอลถ้วย ง.
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 06 May 2007
ตอบ: 786
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Sat Dec 03, 2022 15:27
[RE: ขออนุญาต​ เลอะเทอะ...... นี่ผมคุยกับอะไรอยู่วะเนี่ย]
Kmul พิมพ์ว่า:
Spoil
FreezE[v] พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
Spoil
FreezE[v] พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
ผมมาอ่านอันนี้ ผมเข้าใจแล้วว่าหลักๆท่านมีปัญหากับเรื่องนี้ยังไง และหลายๆคนก็น่าจะคิดแบบนี้
เอาเป็นว่าถ้าไม่ใช่ก็บอกด้วยว่าไม่ใช่นะครับ

ปัญหาหลักที่ว่าคือ พวกท่านคิดว่า เราต้องออกแบบเมือง ออกแบบถนน ให้สอดรับกับพฤติกรรมของคนในพื้นที่นั้นๆ

ปัญหาคือผมเชื่ออีกอย่าง มันเลยคุยกันไม่รู้เรื่อง

ผมเชื่อว่า การออกแบบเมือง จะเปลี่ยนพฤติกรรมคน

ซึ่งผมไม่ได้เชื่อเปล่าๆนะ มีงานวิชาการรองรับด้วย ยกตัวอย่างหนังสือภาษาอังกฤษเล่มนี้ก็ได้ "Livable Streets" by Donald Appleyard

Spoil
อันนี้เป็นงานวิชาการที่ไปศึกษาความแตกต่างของถนนใหญ่ รถหนาแน่น กับถนนเล็ก รถเบาบาง ซึ่งสำรวจในหลายๆมิติเลยล่ะ

ผมยกมา 1 มิติ การที่ถนนใหญ่ รถหนาแน่น จะทำให้ผู้คนมีปฏิสัมพันธ์กันน้อยกว่า การที่ถนนเล็ก เบาบาง

 


ซึ่งเค้าสรุปชัดเจนนะครับ การสร้างเมือง ออกแบบถนน มีผลต่อพฤติกรรมของคน ลองไปอ่านดูได้

อย่างเมืองที่ผมอยู่ เค้าจะเอาเลนไปทำแทรม (ซึ่งก็คล้ายๆการปิดเลนทำ BRT หรือ Bus Lane นั่นแหละ) ก็ถกเถียงกันระหว่างนักการเมืองขวาและซ้าย (นั่นเป็นสาเหตุที่ว่าทำไมผมถึงดึงเรื่องซ้ายขวาเข้ามาเกี่ยวข้อง)

ขวาในยุโรป จะโปรถนน อยากให้ถนนกว้างๆ
ซ้ายในยุโรป จะโปรขนส่งสาธารณะ ทางเดิน จักรยาน

ก็เถียงกันไป อ.มหาวิทยาลัยคนหนึ่งก็ลุกขึ้นพูดกลางวงถกเถียงว่า เราลองจินตนาการดูว่าเราอยากให้เมืองเป็นแบบไหน ก็ให้ออกแบบอย่างนั้น

สุดท้ายฝ่ายซ้ายก็โหวตชนะ ได้เลนมาทำแทรม

ซึ่งถ้าคุณจะเชื่อว่าเมืองต้องออกแบบตามคน ผมก็คงต้องแล้วแต่ครับ แต่แวดวงขนส่ง พร้อมทั้งหลักฐานทางวิชาการ มันชี้ให้เห็นว่า พฤติกรรมคนเปลี่ยนได้ ตามการออกแบบเมือง

ปล.หนังสือที่ผมแนะนำด้ายบนสนุกมาก ควรหาอ่านอย่างมาก และถูกนำไปอ้างอิงในหนังสือเรื่องการออกแบบเมืองอยู่เสมอ  


โอเค ถ้าคุยกันแบบนี้ค่อยรู้เรื่องหน่อยครับ ใช่ครับ

การออกแบบเมืองเพื่อ เปลี่ยนนิสัยคน เป็นเรื่องที่ดี และควรทำ แต่มันจะทำได้ก็ต่อเมื่อ เมืองและคนได้รับการวางรากฐาน อย่างถูกต้องมาล่วงหน้าก่อนแล้ว มันถึงจะสามารถทำได้

แต่ใน กทม อย่างที่ผมตอบไปแล้ว เราไม่ได้รับการวางผังเมืองที่ถูกต้องตั้งแต่แรก มันก็ทำให้นิสัยคนก็ลื่นไหลไปกับความไม่ถูกต้องตามไปด้วย

พอมันใช้เวลานานเข้าการจะไปปรับเปลี่ยน เพื่อหวัง จะเปลี่ยน นิสัยคน มันทำยากมากครับในระยะเวลาสั้นๆ อุปสรรค มหาศาลทั้งในแง่ข้อจำกัดพื้นที่ และ การ Movement ของสังคม

ไม่ใช่ว่าไม่ควรเปลี่ยน แต่มันควรที่จะ Adaptให้สอดคล้อง กั บ บริบทสังคม ที่เป็นมา และพัฒนาให้ดีขึ้น ภายในข้อจำกัดที่มี

ผมเดาถูกใช้มั้ยหละครับ เมืองที่คุณอยู่ ใช้ ระบบขนส่งคน จำพวก Tram ที่ใช้พื้นที่ผิวถนน ได้ โดยไม่กระทบ กับการจราจร ของรถมาก นิสัยพื้นฐานเค้า รถไม่ใช่สิ่งจำเป็นครับ ใช้เพื่อเดินทางระยะไกลๆ ในเมืองเค้าเลือกที่จะใช้ขนส่งมวลชนมากกว่า หรือถ้าใกล้ๆเดินเอาก็ได้

แต่เมืองไทยนี่ตรงกันข้ามครับ จำเป็นต้องต้องดิ้นรนเพื่อมีรถ ไม่งั้นเดินทางลำบาก ขนาดในเมืองก็เถอะ ตัวอย่างแค่นี้ ก็คงพอเข้าใจ ใช่มั้ยครับ

 
 


อ้างอิงจาก:
การออกแบบเมืองเพื่อ เปลี่ยนนิสัยคน เป็นเรื่องที่ดี และควรทำ แต่มันจะทำได้ก็ต่อเมื่อ เมืองและคนได้รับการวางรากฐาน อย่างถูกต้องมาล่วงหน้าก่อนแล้ว มันถึงจะสามารถทำได้

แต่ใน กทม อย่างที่ผมตอบไปแล้ว เราไม่ได้รับการวางผังเมืองที่ถูกต้องตั้งแต่แรก มันก็ทำให้นิสัยคนก็ลื่นไหลไปกับความไม่ถูกต้องตามไปด้วย  

- อันนี้คือท่านพูดตามความรู้สึก หลักฐานทางประวัติศาสตร์ หรืองานวิชาการครับ ถ้าพูดตามความรู้สึกก็ไม่เป็นไร แต่ถ้าพูดตามหลักฐานทางวิชาการอันนี้บอกผมด้วยครับ เผื่อเป็นความรู้ใหม่


อ้างอิงจาก:
ผมเดาถูกใช้มั้ยหละครับ เมืองที่คุณอยู่ ใช้ ระบบขนส่งคน จำพวก Tram ที่ใช้พื้นที่ผิวถนน ได้ โดยไม่กระทบ กับการจราจร ของรถมาก  

- อันนี้ไม่จริงครับ มีแทรมวิ่งบนถนนกับรถเสมอ และหลายอันก็พยายามตัดพื้นที่ถนนมาทำเลนรถเฉพาะ บางทีถึงขั้นปิดถนนเพื่อแทรม/Busเลยครับ


อ้างอิงจาก:
นิสัยพื้นฐานเค้า รถไม่ใช่สิ่งจำเป็นครับ ใช้เพื่อเดินทางระยะไกลๆ ในเมืองเค้าเลือกที่จะใช้ขนส่งมวลชนมากกว่า หรือถ้าใกล้ๆเดินเอาก็ได้  

- ก็กลับไปที่เดิมครับ ว่าเชื่อว่าการมีขนส่งที่ดีทำให้คนไม่ใช้รถ หรือคนเลือกขนส่งแล้วค่อยสร้างตาม

อ้างอิงจาก:
แต่เมืองไทยนี่ตรงกันข้ามครับ จำเป็นต้องต้องดิ้นรนเพื่อมีรถ ไม่งั้นเดินทางลำบาก ขนาดในเมืองก็เถอะ ตัวอย่างแค่นี้ ก็คงพอเข้าใจ ใช่มั้ยครับ  

- ดังนั้นต้องออกแบบเมืองเพื่อเปลี่ยนพฤติกรรมครับ การที่ทำให้ถนนแคบลงนี่คือการบังคับโดยอ้อมให้คนเลิกใช้รถ และการสร้างทางพิเศษสำหรับขนส่งมวลชน คือการดึงดูดคนมาใช้ขนส่งมวลชนครับ
ความคิดนี้ผมไม่ได้คิดเองครับ ผมบอกแล้วว่าตามวิชาการขนส่ง ถ้าอยากไปอ่านเรื่องนี้ต่อลองไปตาม Hermann Knoflacher ที่เป็นศาสตราจารย์ด้านขนส่งของ TU Wien (Vienna University of Technology) ก็ได้ครับ คนนี้มีชื่อเสียงและเป็นผู้นำองค์กรขับเคลื่อนการขนส่งระดับยุโรปและโลกหลายอันมาก ปัญหาคือส่วนใหญ่เป็นภาษาเยอรมัน และถ้าท่านอ่านได้ไม่ว่าด้วยวิธีใด ก็จะรู้สึกเหมือนกับโดนด่าอยู่ตลอดแน่นอนครับ ผมยกโควทหนึ่งมาให้ดูว่าเหมือนโดนด่ายังไง

แต่ผมเตือนอย่างหนึ่ง อ่านแล้วจะเหมือนโดนด่า และผมไม่ได้ด่านะครับ Professor ท่านนี้เป็นคนด่า ดังนั้นอย่าด่าผมกลับครับ

Spoil
อ้างอิงจาก:
Das Auto hat sich wie ein Virus in unserem Gehirn festgesetzt. Und zwar nicht irgendwo, sondern genau da, wo wir mit rationalen Argumenten nicht mehr zu erreichen sind. Wenn es ums Auto geht, reagieren wir dumpfer als Steinzeitmenschen  


https://www.spiegel.de/spiegel/autos-in-innenstaedten-wir-haben-systematisch-stau-erzeugt-a-1196234.html

แปลได้ว่า
รถยนต์ฝังรากในหัวสมองของเราเหมือนกับไวรัส และไปอยู่ในจุดที่เราไม่สามารถถกเถีนงอย่างเป็นเหตุเป็นผลได้ ถ้าเป็นเรื่องเกี่ยวกับรถยนต์ เราจะตอบโต้โง่ยิ่งกว่าคนในยุคหิน  

 

ท่านตีประเด็นผิดครับ ผมไม่ได้สนับสนุนให้คนมาใช้รถยนต์​

ผมสนับสนุนให้คนมาใช้ระบบ ขนส่งมวลชน แบบคนที่อาศัยอยู่ใน มหานครใหญ่ๆ ใช้กัน และผมชอบที่ใช้ ขนส่งมวลชน ไม่ว่าจะใน กทม หรือ เมืองไหนที่ไป

ไปอ่านที่ผม พิมพ์ไว้ดีๆข้างบนครับ ผมพยายามอธิบาย ว่าทำไมสาเหตุว่านิสัย คนไทยถึงเลือกที่ใช้ รถยนต์​มากกว่าระบบขนส่ง

และทำไม มันถึงเปลี่ยนแปลงนิสัยคนไทยได้ยาก ถึงจะบีบคนให้เปลี่ยนด้วย วีธีที่ท่านเรียนมา ถึงจะบีบถนน ให้เล็กลง ใส่ ระบบขนส่ง ลงไปมากขึ้น แต่ด้วยสภาพแวดล้อม รอบตัวมันก็ทำให้พฤติกรรม​ คน ก็จะเอารถลงถนน อีกอยู่ดีครับ คราวนี้จะจากที่จะแก้ปัญหา มันยิ่งไปซ้ำปัญหาเดิม เข้าไปอีก

พูดผมจากความรู้สึก จากการที่ใช้ชีวิตจริง และ ชอบชีวิตในเมืองมาตลอดครับไม่ใช่นักวิชาการและ ไม่มีวิชาการ รองรับอะไรทั้งนั้น

**ไม่ได้ Dis ว่าตำรา แนวคิดวิชาการที่คุณเรียนมาไม่ถูก แต่มันไม่สามารถเอามาใช้ได้ทั้งหมด ถ้าปัจจัย พื้นฐาน และ ความเป็นจริง มันแตกต่างกันครับ**

ถ้าจะคุยกันในแง่วิชาการ VS ชีวิตจริง ยังไงมันก็ไม่จบครับ
 
 


คือท่านพิมพ์ต่อหลังจากที่ผม Quote มาแล้วอ่ะนะ ไม่งั้นผมก็จะได้ตอบประเด็นสภาพอากาศ

ุถ้าท่านไปอยู่ยุโรปตอนหน้าหนาว ท่านจะเห้นว่าหนาวแบบเข้ากระดูก ทำไมคนถึงยังใช้ขนส่งสาธารณะกันอยู่?

หรือถ้าบอกว่า หนาวมันทนได้ ร้อนทนไม่ได้ ผมแนะนำให้ลองไปอิตาลีตอนหน้าร้อน ก็ร้อนจัดๆนี่แหละ อุณหภูมิก็ขึ้นไปถึง30 กว่าหรือบางเมืองก็เกือบ 40 ทำไมเค้ายังถึงเดิน ถึงยังใช้ขนส่งสาธารณะกันได้อยู่?

แม้แต่ญี่ปุ่น ผมเคยไปอยู่มา จำได้เลยหน้าร้อนแรก ขึ้นไปสามสิบปลายๆ ทำไมคนยังใช้ขนส่งสาธารณะกันอยู่?

คำถามเหล่านี้ของผมอยากให้ท่านลองคิดว่า สิ่งที่ท่านคิด เชื่อ มันจริงหรือ หรือแค่เรายังเชื่อว่า ไทยนั้น unique ไม่เหมือนใคร เหมือนกับหลายๆเรื่องที่เราถูกเป่าหูให้เชื่อแบบนั้น (เช่นเรื่องสถาบัน ก็ใช้ argument เดียวกันนี่แหละ)  


งั้นขออนุญาตสอบถามต่อครับ

ในยุโรป ท่านเคยเจอ

ยืนรอรถสาธารณะ แล้ว รถไม่ขับชิดเลนซ้าย เผื่อจอด แต่ขับแซงกันเลนนอกสุดจน ทิ้งผู้โดยสารที่ยืนรอที่ป้ายหรือไม่

โบกรถแท๊กซี่ แล้วแท๊กซี่ไม่ไป เพราะส่งรถ เติมแก๊ส รถติด หรือไม่

จะใช้บริการอูเบอร์ แต่บอกผิดกฏ ให้เรียกแท็กซี่ หรือไม่

ขึ้นรถเมล์ กดกริ่ง เจือก ไม่จอด เลยป้ายไป ไม่ก็จอดนอกป้าย ให้ลงไปเสี่ยงกับการโดนรถชนเองหรือไม่

ยืนรอต่อคิวรถตู้ ที่ยาวววววว ต้องรอเกือบ สองชม. บางที สามชม. รอไปเพื่ออะไร

อันนี้ตอบคำถามว่า ทำไม คนไทยหลายๆคน ถึงไม่ใช่ขนส่งสาธารณะ

เพราะคุณภาพชีวิตในระบบสาธารณะ มันแย่

สภาพวัฒนธรรมก็ต่างกัน

ถ้าท่านยกตัวอย่าง ทำไมคนญี่ปุ่น ถึงอัดแน่นเบียดเสียนกันขึ้นรถไฟฟ้า ไปทำงานกันได้

แต่คนไทย พอรถไฟฟ้าแน่น ก็รอขบวนถัดไป

ทำไมญี่ปุ่น อัดกันได้ คนไทยไม่อัด??

เพราะวัฒนธรรม ความเป็นอยู่ หรืออะไรก็แล้วแต่ มันต่างกันไงครับ

ส่วนตัวผมว่า ถ้าต้องแก้ แก้อีกเยอะ ไม่ใช่แค่วางระบบไป แล้วคนจะทำได้ตามนั้น

เพราะถ้าวกกลับมาที่ว่า ประเทศอื่นทำได้ ทำไมไทย ทำไม่ได้

ก็เพราะสภาพสังคม สิ่งแวดล้อม ฯลฯ ที่มันต่างกัน นั่นละ
1
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
นักบอลถ้วย ง.
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 06 May 2007
ตอบ: 786
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Sat Dec 03, 2022 15:29
[RE: ขออนุญาต​ เลอะเทอะ...... นี่ผมคุยกับอะไรอยู่วะเนี่ย]
ผมว่ามันไปกันใหญ่จากหัวข้อเดิมแล้วนะ

กับคอมเมนท์แรกของคุณที่บอกว่า

ทำ BRT ใต้รางรถไฟฟ้า เพื่อแก้เผ็ด

====

ซึ่งจากคอมเมนท์นั่น ผมบอกเลย ยากครับ

มันแก้หลายภาคส่วน ซึ่ง ระโยง ระยางไปกันใหญ่เลย
1
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
ผู้เยี่ยมชม
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 14 Aug 2012
ตอบ: 2374
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Sat Dec 03, 2022 15:32
ถูกแบนแล้ว
ขออนุญาต​ เลอะเทอะ...... นี่ผมคุยกับอะไรอยู่วะเนี่ย
Kmul พิมพ์ว่า:
tunggggggggg พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
Spoil
Spoil
FreezE[v] พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
ผมมาอ่านอันนี้ ผมเข้าใจแล้วว่าหลักๆท่านมีปัญหากับเรื่องนี้ยังไง และหลายๆคนก็น่าจะคิดแบบนี้
เอาเป็นว่าถ้าไม่ใช่ก็บอกด้วยว่าไม่ใช่นะครับ

ปัญหาหลักที่ว่าคือ พวกท่านคิดว่า เราต้องออกแบบเมือง ออกแบบถนน ให้สอดรับกับพฤติกรรมของคนในพื้นที่นั้นๆ

ปัญหาคือผมเชื่ออีกอย่าง มันเลยคุยกันไม่รู้เรื่อง

ผมเชื่อว่า การออกแบบเมือง จะเปลี่ยนพฤติกรรมคน

ซึ่งผมไม่ได้เชื่อเปล่าๆนะ มีงานวิชาการรองรับด้วย ยกตัวอย่างหนังสือภาษาอังกฤษเล่มนี้ก็ได้ "Livable Streets" by Donald Appleyard

Spoil
อันนี้เป็นงานวิชาการที่ไปศึกษาความแตกต่างของถนนใหญ่ รถหนาแน่น กับถนนเล็ก รถเบาบาง ซึ่งสำรวจในหลายๆมิติเลยล่ะ

ผมยกมา 1 มิติ การที่ถนนใหญ่ รถหนาแน่น จะทำให้ผู้คนมีปฏิสัมพันธ์กันน้อยกว่า การที่ถนนเล็ก เบาบาง

 


ซึ่งเค้าสรุปชัดเจนนะครับ การสร้างเมือง ออกแบบถนน มีผลต่อพฤติกรรมของคน ลองไปอ่านดูได้

อย่างเมืองที่ผมอยู่ เค้าจะเอาเลนไปทำแทรม (ซึ่งก็คล้ายๆการปิดเลนทำ BRT หรือ Bus Lane นั่นแหละ) ก็ถกเถียงกันระหว่างนักการเมืองขวาและซ้าย (นั่นเป็นสาเหตุที่ว่าทำไมผมถึงดึงเรื่องซ้ายขวาเข้ามาเกี่ยวข้อง)

ขวาในยุโรป จะโปรถนน อยากให้ถนนกว้างๆ
ซ้ายในยุโรป จะโปรขนส่งสาธารณะ ทางเดิน จักรยาน

ก็เถียงกันไป อ.มหาวิทยาลัยคนหนึ่งก็ลุกขึ้นพูดกลางวงถกเถียงว่า เราลองจินตนาการดูว่าเราอยากให้เมืองเป็นแบบไหน ก็ให้ออกแบบอย่างนั้น

สุดท้ายฝ่ายซ้ายก็โหวตชนะ ได้เลนมาทำแทรม

ซึ่งถ้าคุณจะเชื่อว่าเมืองต้องออกแบบตามคน ผมก็คงต้องแล้วแต่ครับ แต่แวดวงขนส่ง พร้อมทั้งหลักฐานทางวิชาการ มันชี้ให้เห็นว่า พฤติกรรมคนเปลี่ยนได้ ตามการออกแบบเมือง

ปล.หนังสือที่ผมแนะนำด้ายบนสนุกมาก ควรหาอ่านอย่างมาก และถูกนำไปอ้างอิงในหนังสือเรื่องการออกแบบเมืองอยู่เสมอ  


โอเค ถ้าคุยกันแบบนี้ค่อยรู้เรื่องหน่อยครับ ใช่ครับ

การออกแบบเมืองเพื่อ เปลี่ยนนิสัยคน เป็นเรื่องที่ดี และควรทำ แต่มันจะทำได้ก็ต่อเมื่อ เมืองและคนได้รับการวางรากฐาน อย่างถูกต้องมาล่วงหน้าก่อนแล้ว มันถึงจะสามารถทำได้

แต่ใน กทม อย่างที่ผมตอบไปแล้ว เราไม่ได้รับการวางผังเมืองที่ถูกต้องตั้งแต่แรก มันก็ทำให้นิสัยคนก็ลื่นไหลไปกับความไม่ถูกต้องตามไปด้วย

พอมันใช้เวลานานเข้าการจะไปปรับเปลี่ยน เพื่อหวัง จะเปลี่ยน นิสัยคน มันทำยากมากครับในระยะเวลาสั้นๆ อุปสรรค มหาศาลทั้งในแง่ข้อจำกัดพื้นที่ และ การ Movement ของสังคม

ไม่ใช่ว่าไม่ควรเปลี่ยน แต่มันควรที่จะ Adaptให้สอดคล้อง กั บ บริบทสังคม ที่เป็นมา และพัฒนาให้ดีขึ้น ภายในข้อจำกัดที่มี

ผมเดาถูกใช้มั้ยหละครับ เมืองที่คุณอยู่ ใช้ ระบบขนส่งคน จำพวก Tram ที่ใช้พื้นที่ผิวถนน ได้ โดยไม่กระทบ กับการจราจร ของรถมาก นิสัยพื้นฐานเค้า รถไม่ใช่สิ่งจำเป็นครับ ใช้เพื่อเดินทางระยะไกลๆ ในเมืองเค้าเลือกที่จะใช้ขนส่งมวลชนมากกว่า หรือถ้าใกล้ๆเดินเอาก็ได้

แต่เมืองไทยนี่ตรงกันข้ามครับ จำเป็นต้องต้องดิ้นรนเพื่อมีรถ ไม่งั้นเดินทางลำบาก ขนาดในเมืองก็เถอะ ตัวอย่างแค่นี้ ก็คงพอเข้าใจ ใช่มั้ยครับ

 
 


อ้างอิงจาก:
การออกแบบเมืองเพื่อ เปลี่ยนนิสัยคน เป็นเรื่องที่ดี และควรทำ แต่มันจะทำได้ก็ต่อเมื่อ เมืองและคนได้รับการวางรากฐาน อย่างถูกต้องมาล่วงหน้าก่อนแล้ว มันถึงจะสามารถทำได้

แต่ใน กทม อย่างที่ผมตอบไปแล้ว เราไม่ได้รับการวางผังเมืองที่ถูกต้องตั้งแต่แรก มันก็ทำให้นิสัยคนก็ลื่นไหลไปกับความไม่ถูกต้องตามไปด้วย  

- อันนี้คือท่านพูดตามความรู้สึก หลักฐานทางประวัติศาสตร์ หรืองานวิชาการครับ ถ้าพูดตามความรู้สึกก็ไม่เป็นไร แต่ถ้าพูดตามหลักฐานทางวิชาการอันนี้บอกผมด้วยครับ เผื่อเป็นความรู้ใหม่


อ้างอิงจาก:
ผมเดาถูกใช้มั้ยหละครับ เมืองที่คุณอยู่ ใช้ ระบบขนส่งคน จำพวก Tram ที่ใช้พื้นที่ผิวถนน ได้ โดยไม่กระทบ กับการจราจร ของรถมาก  

- อันนี้ไม่จริงครับ มีแทรมวิ่งบนถนนกับรถเสมอ และหลายอันก็พยายามตัดพื้นที่ถนนมาทำเลนรถเฉพาะ บางทีถึงขั้นปิดถนนเพื่อแทรม/Busเลยครับ


อ้างอิงจาก:
นิสัยพื้นฐานเค้า รถไม่ใช่สิ่งจำเป็นครับ ใช้เพื่อเดินทางระยะไกลๆ ในเมืองเค้าเลือกที่จะใช้ขนส่งมวลชนมากกว่า หรือถ้าใกล้ๆเดินเอาก็ได้  

- ก็กลับไปที่เดิมครับ ว่าเชื่อว่าการมีขนส่งที่ดีทำให้คนไม่ใช้รถ หรือคนเลือกขนส่งแล้วค่อยสร้างตาม

อ้างอิงจาก:
แต่เมืองไทยนี่ตรงกันข้ามครับ จำเป็นต้องต้องดิ้นรนเพื่อมีรถ ไม่งั้นเดินทางลำบาก ขนาดในเมืองก็เถอะ ตัวอย่างแค่นี้ ก็คงพอเข้าใจ ใช่มั้ยครับ  

- ดังนั้นต้องออกแบบเมืองเพื่อเปลี่ยนพฤติกรรมครับ การที่ทำให้ถนนแคบลงนี่คือการบังคับโดยอ้อมให้คนเลิกใช้รถ และการสร้างทางพิเศษสำหรับขนส่งมวลชน คือการดึงดูดคนมาใช้ขนส่งมวลชนครับ
ความคิดนี้ผมไม่ได้คิดเองครับ ผมบอกแล้วว่าตามวิชาการขนส่ง ถ้าอยากไปอ่านเรื่องนี้ต่อลองไปตาม Hermann Knoflacher ที่เป็นศาสตราจารย์ด้านขนส่งของ TU Wien (Vienna University of Technology) ก็ได้ครับ คนนี้มีชื่อเสียงและเป็นผู้นำองค์กรขับเคลื่อนการขนส่งระดับยุโรปและโลกหลายอันมาก ปัญหาคือส่วนใหญ่เป็นภาษาเยอรมัน และถ้าท่านอ่านได้ไม่ว่าด้วยวิธีใด ก็จะรู้สึกเหมือนกับโดนด่าอยู่ตลอดแน่นอนครับ ผมยกโควทหนึ่งมาให้ดูว่าเหมือนโดนด่ายังไง

แต่ผมเตือนอย่างหนึ่ง อ่านแล้วจะเหมือนโดนด่า และผมไม่ได้ด่านะครับ Professor ท่านนี้เป็นคนด่า ดังนั้นอย่าด่าผมกลับครับ

Spoil
อ้างอิงจาก:
Das Auto hat sich wie ein Virus in unserem Gehirn festgesetzt. Und zwar nicht irgendwo, sondern genau da, wo wir mit rationalen Argumenten nicht mehr zu erreichen sind. Wenn es ums Auto geht, reagieren wir dumpfer als Steinzeitmenschen  


https://www.spiegel.de/spiegel/autos-in-innenstaedten-wir-haben-systematisch-stau-erzeugt-a-1196234.html

แปลได้ว่า
รถยนต์ฝังรากในหัวสมองของเราเหมือนกับไวรัส และไปอยู่ในจุดที่เราไม่สามารถถกเถีนงอย่างเป็นเหตุเป็นผลได้ ถ้าเป็นเรื่องเกี่ยวกับรถยนต์ เราจะตอบโต้โง่ยิ่งกว่าคนในยุคหิน  
 

 


อันนี้ขอเข้ามาร่วมวงพูดคุยด้วยครับ

มีการค้นคว้า เกี่ยวกับพฤติกรรมมนุษย์ ควบคู่กับสภาพ “อากาศ” ด้วยไหมครับ

เนื่องด้วยปัจจัย อีกอย่างหนึ่งของประเทศไทย กับทางยุโรป ญี่ปุ่น ฯลฯ ที่แตกต่างกันคือความร้อน

นอกจากผังเมืองที่ ไม่ทั่วถึงแล้ว

อย่างเช่น การอาศัยอยู่ในกรุงเทพฯ ผู้คนที่เข้าถึงรถไฟฟ้า ด้วยระยะทางการเดินเท้า เรียกว่าน้อยมากๆ

ถ้าคุณบอกว่า วางระบบขนส่ง ใต้ทางรถไฟฟ้า แม้แต่เส้นพระราม 3

การที่คนทั่วไปจะเดินทางมาถึงจุดขึ้นรถ อาจจะต้องใช้สองแถว วินมอไซค์ เดิน(ยากมาก เพราะไกล)

คนส่วนใหญ่ในเมือง จึงเลือกซื้อ “รถ” เพื่อเป็นพาหนะการเดินทาง

ซึ่งการจะขยาย ช่องทางเดินรถไปในเขต ตรอก ซอก ซอย ยิ่งต้องเพิ่มจำนวนเยอะมาก

กับงบประมาณ ในปัจจุบัน ที่เห็นได้ว่า ขนาดรถเมล์ ยังเป็นรุ่นเก่า มากกกกกก ยี่สิบปี

และตรอกซอกซอย ในไทย ก็เยอะมากเช่นกัน

ผู้คน ที่จะเดินทางรถสาธารณะ ไม่ใช่ ว่าไม่อยากใช้ แต่มันเข้าถึงลำบาก

พอมีฐานะหน่อย ก็จะซื้อรถ เพื่ออำนวยความสะดวก ทั้งเรื่องของการเดินทาง และปัจจัยทางด้านอากาศ ฯลฯ

ถ้าขยายสเกลไปยัง การขนส่ง ผมว่า หัวข้อมันไปไกลกว่าการ แก้เผ็ด BTS อีกนะ

(อย่างตอนแรก ที่มีการสร้าง BTS ก็หวังว่าจะมาช่วยเรืองรถติด แต่สุดท้าย รถก็ติดเหมือนเดิม)  


มีแน่นอนครับภูมิอากาศควบคุมพฤติกรรมมนุษย์ได้อย่างหนึ่ง ไม่ผิดแน่นอนครับ

ส่วนเรื่องอากาศว่าไทยไม่เหมือนที่อื่น ผมตอบไปข้างบนแล้ว ถ้าแย้งยังไงก็ค่อยมาต่อได้ครับ

งบประมาณที่น้อย เพราะเราเอาไปทำอย่างอื่นมากกว่าครับ ซึ่งอันนี้ไม่น่าเกี่ยวกับเรื่องว่าเราจะทำรถเมล์ไปสู้กับ BTSหรือไม่ แต่โดยภาพรวมแล้วรัฐไทยลงทุนไปกับถนนให้รถส่วนบุคคลเยอะมากๆครับ

ซึ่งก็แปลกที่เราไม่เคยตั้งคำถามเลยว่า งบประมาณสร้าง/ซ่อมถนนนั้น มันคุ้มไหม แต่พอเป็นเรื่องขนส่งมวลชนกลับโดนตั้งคำถามซะงั้นครับ

ส่วนทำไมถึงสร้างถนนเยอะ ผมเดาเอาว่าสาเหตุน่าจะประมาณนี้
1. รมต / สส ส่วนใหญ่จบUSA เยอะ ซึ่งเป็นแหล่งการสร้างถนน
2. ชนชั้นใดก็ทำเพื่อชนชั้นนั้น คนอยู่ในสภา / รมต ปกติขัยรถ เค้าจะเอาเงินมาลงอย่างอื่นได้ยังไง
3. สร้างถนน corruption ง่าย เป็นเรื่องที่เคยๆทำมา  

ถ้าท่านจะต่อไปถึง การเมือง การ คอรัปชั่น มันคุยยากแล้วครับ

ถ้ามันจะคอรัปชั่น การสร้างขนส่งมวลชน มันก็ทำได้ไม่ต่าง กับ กับการสร้างถนน หรอกครับ ไม่เกี่ยวกับการที่ สส รมต จะจบจากไหนมา หรือเรื่อง ชนชั้น

และผม อธิบายไปหมดแล้ว คนที่อ่านก็น่าจะเข้าใจดี ไม่งั้นก็อธิบายวนเวียนไปเรื่อย

ถ้าจะไปถึงขั้นนั้น ผมจบประเด็นผมแค่นี้ เพราะมันจะยิ่งต่อความยาวไม่จบ เพราะมุมมองแตกต่างกันโดยสิ้นเชิง

ขอบคุณครับ
โพสต์บนแอป Soccersuck บน Android
แก้ไขล่าสุดโดย FreezE[v] เมื่อ Sat Dec 03, 2022 15:36, ทั้งหมด 2 ครั้ง
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
นักบอลถ้วย ง.
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 06 May 2007
ตอบ: 786
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Sat Dec 03, 2022 15:37
[RE: ขออนุญาต​ เลอะเทอะ...... นี่ผมคุยกับอะไรอยู่วะเนี่ย]
FreezE[v] พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
tunggggggggg พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
Spoil
Spoil
FreezE[v] พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
ผมมาอ่านอันนี้ ผมเข้าใจแล้วว่าหลักๆท่านมีปัญหากับเรื่องนี้ยังไง และหลายๆคนก็น่าจะคิดแบบนี้
เอาเป็นว่าถ้าไม่ใช่ก็บอกด้วยว่าไม่ใช่นะครับ

ปัญหาหลักที่ว่าคือ พวกท่านคิดว่า เราต้องออกแบบเมือง ออกแบบถนน ให้สอดรับกับพฤติกรรมของคนในพื้นที่นั้นๆ

ปัญหาคือผมเชื่ออีกอย่าง มันเลยคุยกันไม่รู้เรื่อง

ผมเชื่อว่า การออกแบบเมือง จะเปลี่ยนพฤติกรรมคน

ซึ่งผมไม่ได้เชื่อเปล่าๆนะ มีงานวิชาการรองรับด้วย ยกตัวอย่างหนังสือภาษาอังกฤษเล่มนี้ก็ได้ "Livable Streets" by Donald Appleyard

Spoil
อันนี้เป็นงานวิชาการที่ไปศึกษาความแตกต่างของถนนใหญ่ รถหนาแน่น กับถนนเล็ก รถเบาบาง ซึ่งสำรวจในหลายๆมิติเลยล่ะ

ผมยกมา 1 มิติ การที่ถนนใหญ่ รถหนาแน่น จะทำให้ผู้คนมีปฏิสัมพันธ์กันน้อยกว่า การที่ถนนเล็ก เบาบาง

 


ซึ่งเค้าสรุปชัดเจนนะครับ การสร้างเมือง ออกแบบถนน มีผลต่อพฤติกรรมของคน ลองไปอ่านดูได้

อย่างเมืองที่ผมอยู่ เค้าจะเอาเลนไปทำแทรม (ซึ่งก็คล้ายๆการปิดเลนทำ BRT หรือ Bus Lane นั่นแหละ) ก็ถกเถียงกันระหว่างนักการเมืองขวาและซ้าย (นั่นเป็นสาเหตุที่ว่าทำไมผมถึงดึงเรื่องซ้ายขวาเข้ามาเกี่ยวข้อง)

ขวาในยุโรป จะโปรถนน อยากให้ถนนกว้างๆ
ซ้ายในยุโรป จะโปรขนส่งสาธารณะ ทางเดิน จักรยาน

ก็เถียงกันไป อ.มหาวิทยาลัยคนหนึ่งก็ลุกขึ้นพูดกลางวงถกเถียงว่า เราลองจินตนาการดูว่าเราอยากให้เมืองเป็นแบบไหน ก็ให้ออกแบบอย่างนั้น

สุดท้ายฝ่ายซ้ายก็โหวตชนะ ได้เลนมาทำแทรม

ซึ่งถ้าคุณจะเชื่อว่าเมืองต้องออกแบบตามคน ผมก็คงต้องแล้วแต่ครับ แต่แวดวงขนส่ง พร้อมทั้งหลักฐานทางวิชาการ มันชี้ให้เห็นว่า พฤติกรรมคนเปลี่ยนได้ ตามการออกแบบเมือง

ปล.หนังสือที่ผมแนะนำด้ายบนสนุกมาก ควรหาอ่านอย่างมาก และถูกนำไปอ้างอิงในหนังสือเรื่องการออกแบบเมืองอยู่เสมอ  


โอเค ถ้าคุยกันแบบนี้ค่อยรู้เรื่องหน่อยครับ ใช่ครับ

การออกแบบเมืองเพื่อ เปลี่ยนนิสัยคน เป็นเรื่องที่ดี และควรทำ แต่มันจะทำได้ก็ต่อเมื่อ เมืองและคนได้รับการวางรากฐาน อย่างถูกต้องมาล่วงหน้าก่อนแล้ว มันถึงจะสามารถทำได้

แต่ใน กทม อย่างที่ผมตอบไปแล้ว เราไม่ได้รับการวางผังเมืองที่ถูกต้องตั้งแต่แรก มันก็ทำให้นิสัยคนก็ลื่นไหลไปกับความไม่ถูกต้องตามไปด้วย

พอมันใช้เวลานานเข้าการจะไปปรับเปลี่ยน เพื่อหวัง จะเปลี่ยน นิสัยคน มันทำยากมากครับในระยะเวลาสั้นๆ อุปสรรค มหาศาลทั้งในแง่ข้อจำกัดพื้นที่ และ การ Movement ของสังคม

ไม่ใช่ว่าไม่ควรเปลี่ยน แต่มันควรที่จะ Adaptให้สอดคล้อง กั บ บริบทสังคม ที่เป็นมา และพัฒนาให้ดีขึ้น ภายในข้อจำกัดที่มี

ผมเดาถูกใช้มั้ยหละครับ เมืองที่คุณอยู่ ใช้ ระบบขนส่งคน จำพวก Tram ที่ใช้พื้นที่ผิวถนน ได้ โดยไม่กระทบ กับการจราจร ของรถมาก นิสัยพื้นฐานเค้า รถไม่ใช่สิ่งจำเป็นครับ ใช้เพื่อเดินทางระยะไกลๆ ในเมืองเค้าเลือกที่จะใช้ขนส่งมวลชนมากกว่า หรือถ้าใกล้ๆเดินเอาก็ได้

แต่เมืองไทยนี่ตรงกันข้ามครับ จำเป็นต้องต้องดิ้นรนเพื่อมีรถ ไม่งั้นเดินทางลำบาก ขนาดในเมืองก็เถอะ ตัวอย่างแค่นี้ ก็คงพอเข้าใจ ใช่มั้ยครับ

 
 


อ้างอิงจาก:
การออกแบบเมืองเพื่อ เปลี่ยนนิสัยคน เป็นเรื่องที่ดี และควรทำ แต่มันจะทำได้ก็ต่อเมื่อ เมืองและคนได้รับการวางรากฐาน อย่างถูกต้องมาล่วงหน้าก่อนแล้ว มันถึงจะสามารถทำได้

แต่ใน กทม อย่างที่ผมตอบไปแล้ว เราไม่ได้รับการวางผังเมืองที่ถูกต้องตั้งแต่แรก มันก็ทำให้นิสัยคนก็ลื่นไหลไปกับความไม่ถูกต้องตามไปด้วย  

- อันนี้คือท่านพูดตามความรู้สึก หลักฐานทางประวัติศาสตร์ หรืองานวิชาการครับ ถ้าพูดตามความรู้สึกก็ไม่เป็นไร แต่ถ้าพูดตามหลักฐานทางวิชาการอันนี้บอกผมด้วยครับ เผื่อเป็นความรู้ใหม่


อ้างอิงจาก:
ผมเดาถูกใช้มั้ยหละครับ เมืองที่คุณอยู่ ใช้ ระบบขนส่งคน จำพวก Tram ที่ใช้พื้นที่ผิวถนน ได้ โดยไม่กระทบ กับการจราจร ของรถมาก  

- อันนี้ไม่จริงครับ มีแทรมวิ่งบนถนนกับรถเสมอ และหลายอันก็พยายามตัดพื้นที่ถนนมาทำเลนรถเฉพาะ บางทีถึงขั้นปิดถนนเพื่อแทรม/Busเลยครับ


อ้างอิงจาก:
นิสัยพื้นฐานเค้า รถไม่ใช่สิ่งจำเป็นครับ ใช้เพื่อเดินทางระยะไกลๆ ในเมืองเค้าเลือกที่จะใช้ขนส่งมวลชนมากกว่า หรือถ้าใกล้ๆเดินเอาก็ได้  

- ก็กลับไปที่เดิมครับ ว่าเชื่อว่าการมีขนส่งที่ดีทำให้คนไม่ใช้รถ หรือคนเลือกขนส่งแล้วค่อยสร้างตาม

อ้างอิงจาก:
แต่เมืองไทยนี่ตรงกันข้ามครับ จำเป็นต้องต้องดิ้นรนเพื่อมีรถ ไม่งั้นเดินทางลำบาก ขนาดในเมืองก็เถอะ ตัวอย่างแค่นี้ ก็คงพอเข้าใจ ใช่มั้ยครับ  

- ดังนั้นต้องออกแบบเมืองเพื่อเปลี่ยนพฤติกรรมครับ การที่ทำให้ถนนแคบลงนี่คือการบังคับโดยอ้อมให้คนเลิกใช้รถ และการสร้างทางพิเศษสำหรับขนส่งมวลชน คือการดึงดูดคนมาใช้ขนส่งมวลชนครับ
ความคิดนี้ผมไม่ได้คิดเองครับ ผมบอกแล้วว่าตามวิชาการขนส่ง ถ้าอยากไปอ่านเรื่องนี้ต่อลองไปตาม Hermann Knoflacher ที่เป็นศาสตราจารย์ด้านขนส่งของ TU Wien (Vienna University of Technology) ก็ได้ครับ คนนี้มีชื่อเสียงและเป็นผู้นำองค์กรขับเคลื่อนการขนส่งระดับยุโรปและโลกหลายอันมาก ปัญหาคือส่วนใหญ่เป็นภาษาเยอรมัน และถ้าท่านอ่านได้ไม่ว่าด้วยวิธีใด ก็จะรู้สึกเหมือนกับโดนด่าอยู่ตลอดแน่นอนครับ ผมยกโควทหนึ่งมาให้ดูว่าเหมือนโดนด่ายังไง

แต่ผมเตือนอย่างหนึ่ง อ่านแล้วจะเหมือนโดนด่า และผมไม่ได้ด่านะครับ Professor ท่านนี้เป็นคนด่า ดังนั้นอย่าด่าผมกลับครับ

Spoil
อ้างอิงจาก:
Das Auto hat sich wie ein Virus in unserem Gehirn festgesetzt. Und zwar nicht irgendwo, sondern genau da, wo wir mit rationalen Argumenten nicht mehr zu erreichen sind. Wenn es ums Auto geht, reagieren wir dumpfer als Steinzeitmenschen  


https://www.spiegel.de/spiegel/autos-in-innenstaedten-wir-haben-systematisch-stau-erzeugt-a-1196234.html

แปลได้ว่า
รถยนต์ฝังรากในหัวสมองของเราเหมือนกับไวรัส และไปอยู่ในจุดที่เราไม่สามารถถกเถีนงอย่างเป็นเหตุเป็นผลได้ ถ้าเป็นเรื่องเกี่ยวกับรถยนต์ เราจะตอบโต้โง่ยิ่งกว่าคนในยุคหิน  
 

 


อันนี้ขอเข้ามาร่วมวงพูดคุยด้วยครับ

มีการค้นคว้า เกี่ยวกับพฤติกรรมมนุษย์ ควบคู่กับสภาพ “อากาศ” ด้วยไหมครับ

เนื่องด้วยปัจจัย อีกอย่างหนึ่งของประเทศไทย กับทางยุโรป ญี่ปุ่น ฯลฯ ที่แตกต่างกันคือความร้อน

นอกจากผังเมืองที่ ไม่ทั่วถึงแล้ว

อย่างเช่น การอาศัยอยู่ในกรุงเทพฯ ผู้คนที่เข้าถึงรถไฟฟ้า ด้วยระยะทางการเดินเท้า เรียกว่าน้อยมากๆ

ถ้าคุณบอกว่า วางระบบขนส่ง ใต้ทางรถไฟฟ้า แม้แต่เส้นพระราม 3

การที่คนทั่วไปจะเดินทางมาถึงจุดขึ้นรถ อาจจะต้องใช้สองแถว วินมอไซค์ เดิน(ยากมาก เพราะไกล)

คนส่วนใหญ่ในเมือง จึงเลือกซื้อ “รถ” เพื่อเป็นพาหนะการเดินทาง

ซึ่งการจะขยาย ช่องทางเดินรถไปในเขต ตรอก ซอก ซอย ยิ่งต้องเพิ่มจำนวนเยอะมาก

กับงบประมาณ ในปัจจุบัน ที่เห็นได้ว่า ขนาดรถเมล์ ยังเป็นรุ่นเก่า มากกกกกก ยี่สิบปี

และตรอกซอกซอย ในไทย ก็เยอะมากเช่นกัน

ผู้คน ที่จะเดินทางรถสาธารณะ ไม่ใช่ ว่าไม่อยากใช้ แต่มันเข้าถึงลำบาก

พอมีฐานะหน่อย ก็จะซื้อรถ เพื่ออำนวยความสะดวก ทั้งเรื่องของการเดินทาง และปัจจัยทางด้านอากาศ ฯลฯ

ถ้าขยายสเกลไปยัง การขนส่ง ผมว่า หัวข้อมันไปไกลกว่าการ แก้เผ็ด BTS อีกนะ

(อย่างตอนแรก ที่มีการสร้าง BTS ก็หวังว่าจะมาช่วยเรืองรถติด แต่สุดท้าย รถก็ติดเหมือนเดิม)  


มีแน่นอนครับภูมิอากาศควบคุมพฤติกรรมมนุษย์ได้อย่างหนึ่ง ไม่ผิดแน่นอนครับ

ส่วนเรื่องอากาศว่าไทยไม่เหมือนที่อื่น ผมตอบไปข้างบนแล้ว ถ้าแย้งยังไงก็ค่อยมาต่อได้ครับ

งบประมาณที่น้อย เพราะเราเอาไปทำอย่างอื่นมากกว่าครับ ซึ่งอันนี้ไม่น่าเกี่ยวกับเรื่องว่าเราจะทำรถเมล์ไปสู้กับ BTSหรือไม่ แต่โดยภาพรวมแล้วรัฐไทยลงทุนไปกับถนนให้รถส่วนบุคคลเยอะมากๆครับ

ซึ่งก็แปลกที่เราไม่เคยตั้งคำถามเลยว่า งบประมาณสร้าง/ซ่อมถนนนั้น มันคุ้มไหม แต่พอเป็นเรื่องขนส่งมวลชนกลับโดนตั้งคำถามซะงั้นครับ

ส่วนทำไมถึงสร้างถนนเยอะ ผมเดาเอาว่าสาเหตุน่าจะประมาณนี้
1. รมต / สส ส่วนใหญ่จบUSA เยอะ ซึ่งเป็นแหล่งการสร้างถนน
2. ชนชั้นใดก็ทำเพื่อชนชั้นนั้น คนอยู่ในสภา / รมต ปกติขัยรถ เค้าจะเอาเงินมาลงอย่างอื่นได้ยังไง
3. สร้างถนน corruption ง่าย เป็นเรื่องที่เคยๆทำมา  

ถ้าท่านจะต่อไปถึง การเมือง การ คอรัปชั่น มันคุยยากแล้วครับ

ถ้ามันจะคอรัปชั่น การสร้างขนส่งมวลชน มันก็ทำได้ไม่ต่าง กับ กับการสร้างถนน หรอกครับ ไม่เกี่ยวกับการที่ สส รมต จะจบจากไหนมา หรือเรื่อง ชนชั้น

และผม อธิบายไปหมดแล้ว คนที่อ่านก็น่าจะเข้าใจดี ไม่งั้นก็อธิบายวนเวียนไปเรื่อย

ถ้าจะไปถึงขั้นนั้น ผมจบประเด็นผมแค่นี้ เพราะมันจะยิ่งต่อความยาวไม่จบ เพราะมุมมองแตกต่างกันโดยสิ้นเชิง

ขอบคุณครับ
 


I know how you feel
1
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออนไลน์
ดาวเตะกัลโช่
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 20 Sep 2010
ตอบ: 3592
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Sat Dec 03, 2022 15:40
[RE: ขออนุญาต​ เลอะเทอะ...... นี่ผมคุยกับอะไรอยู่วะเนี่ย]
อ้างอิงจาก:
tunggggggggg พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
Spoil
FreezE[v] พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
Spoil
FreezE[v] พิมพ์ว่า:
Kmul พิมพ์ว่า:
ผมมาอ่านอันนี้ ผมเข้าใจแล้วว่าหลักๆท่านมีปัญหากับเรื่องนี้ยังไง และหลายๆคนก็น่าจะคิดแบบนี้
เอาเป็นว่าถ้าไม่ใช่ก็บอกด้วยว่าไม่ใช่นะครับ

ปัญหาหลักที่ว่าคือ พวกท่านคิดว่า เราต้องออกแบบเมือง ออกแบบถนน ให้สอดรับกับพฤติกรรมของคนในพื้นที่นั้นๆ

ปัญหาคือผมเชื่ออีกอย่าง มันเลยคุยกันไม่รู้เรื่อง

ผมเชื่อว่า การออกแบบเมือง จะเปลี่ยนพฤติกรรมคน

ซึ่งผมไม่ได้เชื่อเปล่าๆนะ มีงานวิชาการรองรับด้วย ยกตัวอย่างหนังสือภาษาอังกฤษเล่มนี้ก็ได้ "Livable Streets" by Donald Appleyard

Spoil
อันนี้เป็นงานวิชาการที่ไปศึกษาความแตกต่างของถนนใหญ่ รถหนาแน่น กับถนนเล็ก รถเบาบาง ซึ่งสำรวจในหลายๆมิติเลยล่ะ

ผมยกมา 1 มิติ การที่ถนนใหญ่ รถหนาแน่น จะทำให้ผู้คนมีปฏิสัมพันธ์กันน้อยกว่า การที่ถนนเล็ก เบาบาง

 


ซึ่งเค้าสรุปชัดเจนนะครับ การสร้างเมือง ออกแบบถนน มีผลต่อพฤติกรรมของคน ลองไปอ่านดูได้

อย่างเมืองที่ผมอยู่ เค้าจะเอาเลนไปทำแทรม (ซึ่งก็คล้ายๆการปิดเลนทำ BRT หรือ Bus Lane นั่นแหละ) ก็ถกเถียงกันระหว่างนักการเมืองขวาและซ้าย (นั่นเป็นสาเหตุที่ว่าทำไมผมถึงดึงเรื่องซ้ายขวาเข้ามาเกี่ยวข้อง)

ขวาในยุโรป จะโปรถนน อยากให้ถนนกว้างๆ
ซ้ายในยุโรป จะโปรขนส่งสาธารณะ ทางเดิน จักรยาน

ก็เถียงกันไป อ.มหาวิทยาลัยคนหนึ่งก็ลุกขึ้นพูดกลางวงถกเถียงว่า เราลองจินตนาการดูว่าเราอยากให้เมืองเป็นแบบไหน ก็ให้ออกแบบอย่างนั้น

สุดท้ายฝ่ายซ้ายก็โหวตชนะ ได้เลนมาทำแทรม

ซึ่งถ้าคุณจะเชื่อว่าเมืองต้องออกแบบตามคน ผมก็คงต้องแล้วแต่ครับ แต่แวดวงขนส่ง พร้อมทั้งหลักฐานทางวิชาการ มันชี้ให้เห็นว่า พฤติกรรมคนเปลี่ยนได้ ตามการออกแบบเมือง

ปล.หนังสือที่ผมแนะนำด้ายบนสนุกมาก ควรหาอ่านอย่างมาก และถูกนำไปอ้างอิงในหนังสือเรื่องการออกแบบเมืองอยู่เสมอ  


โอเค ถ้าคุยกันแบบนี้ค่อยรู้เรื่องหน่อยครับ ใช่ครับ

การออกแบบเมืองเพื่อ เปลี่ยนนิสัยคน เป็นเรื่องที่ดี และควรทำ แต่มันจะทำได้ก็ต่อเมื่อ เมืองและคนได้รับการวางรากฐาน อย่างถูกต้องมาล่วงหน้าก่อนแล้ว มันถึงจะสามารถทำได้

แต่ใน กทม อย่างที่ผมตอบไปแล้ว เราไม่ได้รับการวางผังเมืองที่ถูกต้องตั้งแต่แรก มันก็ทำให้นิสัยคนก็ลื่นไหลไปกับความไม่ถูกต้องตามไปด้วย

พอมันใช้เวลานานเข้าการจะไปปรับเปลี่ยน เพื่อหวัง จะเปลี่ยน นิสัยคน มันทำยากมากครับในระยะเวลาสั้นๆ อุปสรรค มหาศาลทั้งในแง่ข้อจำกัดพื้นที่ และ การ Movement ของสังคม

ไม่ใช่ว่าไม่ควรเปลี่ยน แต่มันควรที่จะ Adaptให้สอดคล้อง กั บ บริบทสังคม ที่เป็นมา และพัฒนาให้ดีขึ้น ภายในข้อจำกัดที่มี

ผมเดาถูกใช้มั้ยหละครับ เมืองที่คุณอยู่ ใช้ ระบบขนส่งคน จำพวก Tram ที่ใช้พื้นที่ผิวถนน ได้ โดยไม่กระทบ กับการจราจร ของรถมาก นิสัยพื้นฐานเค้า รถไม่ใช่สิ่งจำเป็นครับ ใช้เพื่อเดินทางระยะไกลๆ ในเมืองเค้าเลือกที่จะใช้ขนส่งมวลชนมากกว่า หรือถ้าใกล้ๆเดินเอาก็ได้

แต่เมืองไทยนี่ตรงกันข้ามครับ จำเป็นต้องต้องดิ้นรนเพื่อมีรถ ไม่งั้นเดินทางลำบาก ขนาดในเมืองก็เถอะ ตัวอย่างแค่นี้ ก็คงพอเข้าใจ ใช่มั้ยครับ

 
 


อ้างอิงจาก:
การออกแบบเมืองเพื่อ เปลี่ยนนิสัยคน เป็นเรื่องที่ดี และควรทำ แต่มันจะทำได้ก็ต่อเมื่อ เมืองและคนได้รับการวางรากฐาน อย่างถูกต้องมาล่วงหน้าก่อนแล้ว มันถึงจะสามารถทำได้

แต่ใน กทม อย่างที่ผมตอบไปแล้ว เราไม่ได้รับการวางผังเมืองที่ถูกต้องตั้งแต่แรก มันก็ทำให้นิสัยคนก็ลื่นไหลไปกับความไม่ถูกต้องตามไปด้วย  

- อันนี้คือท่านพูดตามความรู้สึก หลักฐานทางประวัติศาสตร์ หรืองานวิชาการครับ ถ้าพูดตามความรู้สึกก็ไม่เป็นไร แต่ถ้าพูดตามหลักฐานทางวิชาการอันนี้บอกผมด้วยครับ เผื่อเป็นความรู้ใหม่


อ้างอิงจาก:
ผมเดาถูกใช้มั้ยหละครับ เมืองที่คุณอยู่ ใช้ ระบบขนส่งคน จำพวก Tram ที่ใช้พื้นที่ผิวถนน ได้ โดยไม่กระทบ กับการจราจร ของรถมาก  

- อันนี้ไม่จริงครับ มีแทรมวิ่งบนถนนกับรถเสมอ และหลายอันก็พยายามตัดพื้นที่ถนนมาทำเลนรถเฉพาะ บางทีถึงขั้นปิดถนนเพื่อแทรม/Busเลยครับ


อ้างอิงจาก:
นิสัยพื้นฐานเค้า รถไม่ใช่สิ่งจำเป็นครับ ใช้เพื่อเดินทางระยะไกลๆ ในเมืองเค้าเลือกที่จะใช้ขนส่งมวลชนมากกว่า หรือถ้าใกล้ๆเดินเอาก็ได้  

- ก็กลับไปที่เดิมครับ ว่าเชื่อว่าการมีขนส่งที่ดีทำให้คนไม่ใช้รถ หรือคนเลือกขนส่งแล้วค่อยสร้างตาม

อ้างอิงจาก:
แต่เมืองไทยนี่ตรงกันข้ามครับ จำเป็นต้องต้องดิ้นรนเพื่อมีรถ ไม่งั้นเดินทางลำบาก ขนาดในเมืองก็เถอะ ตัวอย่างแค่นี้ ก็คงพอเข้าใจ ใช่มั้ยครับ  

- ดังนั้นต้องออกแบบเมืองเพื่อเปลี่ยนพฤติกรรมครับ การที่ทำให้ถนนแคบลงนี่คือการบังคับโดยอ้อมให้คนเลิกใช้รถ และการสร้างทางพิเศษสำหรับขนส่งมวลชน คือการดึงดูดคนมาใช้ขนส่งมวลชนครับ
ความคิดนี้ผมไม่ได้คิดเองครับ ผมบอกแล้วว่าตามวิชาการขนส่ง ถ้าอยากไปอ่านเรื่องนี้ต่อลองไปตาม Hermann Knoflacher ที่เป็นศาสตราจารย์ด้านขนส่งของ TU Wien (Vienna University of Technology) ก็ได้ครับ คนนี้มีชื่อเสียงและเป็นผู้นำองค์กรขับเคลื่อนการขนส่งระดับยุโรปและโลกหลายอันมาก ปัญหาคือส่วนใหญ่เป็นภาษาเยอรมัน และถ้าท่านอ่านได้ไม่ว่าด้วยวิธีใด ก็จะรู้สึกเหมือนกับโดนด่าอยู่ตลอดแน่นอนครับ ผมยกโควทหนึ่งมาให้ดูว่าเหมือนโดนด่ายังไง

แต่ผมเตือนอย่างหนึ่ง อ่านแล้วจะเหมือนโดนด่า และผมไม่ได้ด่านะครับ Professor ท่านนี้เป็นคนด่า ดังนั้นอย่าด่าผมกลับครับ

Spoil
อ้างอิงจาก:
Das Auto hat sich wie ein Virus in unserem Gehirn festgesetzt. Und zwar nicht irgendwo, sondern genau da, wo wir mit rationalen Argumenten nicht mehr zu erreichen sind. Wenn es ums Auto geht, reagieren wir dumpfer als Steinzeitmenschen  


https://www.spiegel.de/spiegel/autos-in-innenstaedten-wir-haben-systematisch-stau-erzeugt-a-1196234.html

แปลได้ว่า
รถยนต์ฝังรากในหัวสมองของเราเหมือนกับไวรัส และไปอยู่ในจุดที่เราไม่สามารถถกเถีนงอย่างเป็นเหตุเป็นผลได้ ถ้าเป็นเรื่องเกี่ยวกับรถยนต์ เราจะตอบโต้โง่ยิ่งกว่าคนในยุคหิน  

 

ท่านตีประเด็นผิดครับ ผมไม่ได้สนับสนุนให้คนมาใช้รถยนต์​

ผมสนับสนุนให้คนมาใช้ระบบ ขนส่งมวลชน แบบคนที่อาศัยอยู่ใน มหานครใหญ่ๆ ใช้กัน และผมชอบที่ใช้ ขนส่งมวลชน ไม่ว่าจะใน กทม หรือ เมืองไหนที่ไป

ไปอ่านที่ผม พิมพ์ไว้ดีๆข้างบนครับ ผมพยายามอธิบาย ว่าทำไมสาเหตุว่านิสัย คนไทยถึงเลือกที่ใช้ รถยนต์​มากกว่าระบบขนส่ง

และทำไม มันถึงเปลี่ยนแปลงนิสัยคนไทยได้ยาก ถึงจะบีบคนให้เปลี่ยนด้วย วีธีที่ท่านเรียนมา ถึงจะบีบถนน ให้เล็กลง ใส่ ระบบขนส่ง ลงไปมากขึ้น แต่ด้วยสภาพแวดล้อม รอบตัวมันก็ทำให้พฤติกรรม​ คน ก็จะเอารถลงถนน อีกอยู่ดีครับ คราวนี้จะจากที่จะแก้ปัญหา มันยิ่งไปซ้ำปัญหาเดิม เข้าไปอีก

พูดผมจากความรู้สึก จากการที่ใช้ชีวิตจริง และ ชอบชีวิตในเมืองมาตลอดครับไม่ใช่นักวิชาการและ ไม่มีวิชาการ รองรับอะไรทั้งนั้น

**ไม่ได้ Dis ว่าตำรา แนวคิดวิชาการที่คุณเรียนมาไม่ถูก แต่มันไม่สามารถเอามาใช้ได้ทั้งหมด ถ้าปัจจัย พื้นฐาน และ ความเป็นจริง มันแตกต่างกันครับ**

ถ้าจะคุยกันในแง่วิชาการ VS ชีวิตจริง ยังไงมันก็ไม่จบครับ
 
 


คือท่านพิมพ์ต่อหลังจากที่ผม Quote มาแล้วอ่ะนะ ไม่งั้นผมก็จะได้ตอบประเด็นสภาพอากาศ

ุถ้าท่านไปอยู่ยุโรปตอนหน้าหนาว ท่านจะเห้นว่าหนาวแบบเข้ากระดูก ทำไมคนถึงยังใช้ขนส่งสาธารณะกันอยู่?

หรือถ้าบอกว่า หนาวมันทนได้ ร้อนทนไม่ได้ ผมแนะนำให้ลองไปอิตาลีตอนหน้าร้อน ก็ร้อนจัดๆนี่แหละ อุณหภูมิก็ขึ้นไปถึง30 กว่าหรือบางเมืองก็เกือบ 40 ทำไมเค้ายังถึงเดิน ถึงยังใช้ขนส่งสาธารณะกันได้อยู่?

แม้แต่ญี่ปุ่น ผมเคยไปอยู่มา จำได้เลยหน้าร้อนแรก ขึ้นไปสามสิบปลายๆ ทำไมคนยังใช้ขนส่งสาธารณะกันอยู่?

คำถามเหล่านี้ของผมอยากให้ท่านลองคิดว่า สิ่งที่ท่านคิด เชื่อ มันจริงหรือ หรือแค่เรายังเชื่อว่า ไทยนั้น unique ไม่เหมือนใคร เหมือนกับหลายๆเรื่องที่เราถูกเป่าหูให้เชื่อแบบนั้น (เช่นเรื่องสถาบัน ก็ใช้ argument เดียวกันนี่แหละ)  


งั้นขออนุญาตสอบถามต่อครับ

ในยุโรป ท่านเคยเจอ

ยืนรอรถสาธารณะ แล้ว รถไม่ขับชิดเลนซ้าย เผื่อจอด แต่ขับแซงกันเลนนอกสุดจน ทิ้งผู้โดยสารที่ยืนรอที่ป้ายหรือไม่

โบกรถแท๊กซี่ แล้วแท๊กซี่ไม่ไป เพราะส่งรถ เติมแก๊ส รถติด หรือไม่

จะใช้บริการอูเบอร์ แต่บอกผิดกฏ ให้เรียกแท็กซี่ หรือไม่

ขึ้นรถเมล์ กดกริ่ง เจือก ไม่จอด เลยป้ายไป ไม่ก็จอดนอกป้าย ให้ลงไปเสี่ยงกับการโดนรถชนเองหรือไม่

ยืนรอต่อคิวรถตู้ ที่ยาวววววว ต้องรอเกือบ สองชม. บางที สามชม. รอไปเพื่ออะไร

อันนี้ตอบคำถามว่า ทำไม คนไทยหลายๆคน ถึงไม่ใช่ขนส่งสาธารณะ

เพราะคุณภาพชีวิตในระบบสาธารณะ มันแย่

สภาพวัฒนธรรมก็ต่างกัน

ถ้าท่านยกตัวอย่าง ทำไมคนญี่ปุ่น ถึงอัดแน่นเบียดเสียนกันขึ้นรถไฟฟ้า ไปทำงานกันได้

แต่คนไทย พอรถไฟฟ้าแน่น ก็รอขบวนถัดไป

ทำไมญี่ปุ่น อัดกันได้ คนไทยไม่อัด??

เพราะวัฒนธรรม ความเป็นอยู่ หรืออะไรก็แล้วแต่ มันต่างกันไงครับ

ส่วนตัวผมว่า ถ้าต้องแก้ แก้อีกเยอะ ไม่ใช่แค่วางระบบไป แล้วคนจะทำได้ตามนั้น

เพราะถ้าวกกลับมาที่ว่า ประเทศอื่นทำได้ ทำไมไทย ทำไม่ได้

ก็เพราะสภาพสังคม สิ่งแวดล้อม ฯลฯ ที่มันต่างกัน นั่นละ  
 


คือต้องบอกก่อนว่า ผมก็เคยทำงาน กทม มา สิ่งที่พวกท่านเจอผมก็เจอมาหมดแล้วล่ะครับ

- เรื่องรถเมล์ไม่ชิดซ้ายจอด แล้วไปเร่งแซงกัน ไม่เคยเจอครับ แต่ต้องถามกลับว่าทำไมเกิดเหตุนี้ขึ้น อยู่ที่การจัดการล้วนๆครับ ผมไปหามาให้อ่านก็ได้ https://today.line.me/th/v2/article/PpEnnl

- Taxi แบบที่ว่า ไม่เคยเจอในยุโรปหรือญี่ปุ่นครับ ซึ่งผมก็คิดว่าคงเป็นเรื่องการจัดการเช่นกัน แต่คือไม่มีข้อมูลไม่กล้าฟังธงครับ

Spoil
- ขึ้นรถเมล์ กดกริ่ง เจือก ไม่จอด เลยป้ายไป ไม่ก็จอดนอกป้าย ให้ลงไปเสี่ยงกับการโดนรถชนเองหรือไม่
นี่ก็คือเรื่องการจัดการครับ
- ยืนรอต่อคิวรถตู้ ที่ยาวววววว ต้องรอเกือบ สองชม. บางที สามชม. รอไปเพื่ออะไร
- จะใช้บริการอูเบอร์ แต่บอกผิดกฏ ให้เรียกแท็กซี่ หรือไม่  


ส่วนข้างบนนี้ ก็คือการจัดการล้วนๆครับ

Spoil
ถ้าท่านยกตัวอย่าง ทำไมคนญี่ปุ่น ถึงอัดแน่นเบียดเสียนกันขึ้นรถไฟฟ้า ไปทำงานกันได้  

ที่ยุโรปก็รอขบวนถัดไปครับไม่ต้องห่วง ถ้า Takt น้อยนะครับ ญี่ปุ่นนี่ที่เบียดเสียดได้เพราะรอต่อไปก็เบียดเหมือนเดิมครับ ไม่รู้จะรอไปทำไม



เห็นได้ว่า มันไม่ได้มี condition แบบที่เปลี่ยนไม่ได้นะครับ

คือผมไม่ได้บอกว่า เฮ้ย บีบถนนแคบแล้วจบ ไม่ต้องจัดการอย่างอื่นเลยนะครับ มันก็ต้องจัดการอย่างอื่นควบคู่ไปด้วยให้หมด
แต่การที่เราไม่สามารถจัดการทุกอย่างได้ในตอนนี้ มันไม่ใช่ข้อที่จะบอกว่า งั้นไม่ต้องทำอะไร อยู่เฉยๆเถอะ เพราะทำอะไรไม่ได้ สำหรับผมแล้ว ทำอะไรได้ก็ทำไปก่อนครับ ทำแล้วเป็นโอเดลที่ดี ก็จะมีแรงกดดันทางการเมือง ผลักให้มันไปสู่การเปลี่ยนแปลงสิ่งอื่นๆเองนั่นแหละครับ


0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออนไลน์
ดาวเตะกัลโช่
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 20 Sep 2010
ตอบ: 3592
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Sat Dec 03, 2022 15:45
[RE: ขออนุญาต​ เลอะเทอะ...... นี่ผมคุยกับอะไรอยู่วะเนี่ย]
ผมจบด้วยอันนี้ละกันครับ อธิบายได้ดีที่สุด จากความเห็นของ Hermann Knoflacher



Wenn es ums Auto geht, reagieren wir dumpfer als Steinzeitmenschen.
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
นักบอลถ้วย ง.
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 06 May 2007
ตอบ: 786
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Sat Dec 03, 2022 15:59
[RE: ขออนุญาต​ เลอะเทอะ...... นี่ผมคุยกับอะไรอยู่วะเนี่ย]
ผมขอปิดท้าย ด้วยข้อความจากหนังสือเล่มนึงละกันครับ

wenn du liest zeigen, dass Sie lesen Liest du? tschüss lesen Hör auf zu lesen
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
นักเตะท้ายซอย
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 15 Apr 2020
ตอบ: 293
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Sat Dec 03, 2022 16:32
ขออนุญาต​ เลอะเทอะ...... นี่ผมคุยกับอะไรอยู่วะเนี่ย
รางรถไฟมันมีของมันอยู่แล้วข้างบน
แล้วจะไปสร้างทางบนพื้นซ้ำกันอีก?

จะเพิ่มรายจ่าย ทั้งๆที่ตัวเองก็ยังเป็นหนี้?
ผมไม่เห็นว่าแก้ปัญหาหนี้ได้อย่างไร?
อีกทั้ง กทม.ยังเสี่ยงขาดทุนจากกิจการใหม่อีก
หรือถ้ากำไร ก็ไม่มากพอที่จะไปใช้หนี้ของเดิม

ถ้าคุณจะสร้างเมืองใหม่ในฝัน มันต้องเริ่มวางตรงจุดที่ BTS/MRT ไปไม่ถึงมั้ง
เปลี่ยนให้คนใช้รถ มาใช้ BRT อันนี้น่าจะทำได้

หรือเอาง่ายๆ คุณเอาโมเดลของคุณไปแก้ BRT ของเก่าก่อน ตอนนี้ก็แทบจะปิดอยู่แล้ว

ผมขอจบด้วย Thomas Muller Partey Tuchel.
อธิบายได้ดีที่สุด
โพสต์บนแอป Soccersuck บน Android
แก้ไขล่าสุดโดย TheChe เมื่อ Sat Dec 03, 2022 16:42, ทั้งหมด 1 ครั้ง
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
นักบอลถ้วย ค.
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 21 Oct 2008
ตอบ: 4028
ที่อยู่: หลังAnfield ก๊าบๆ
โพสเมื่อ: Sat Dec 03, 2022 17:43
[RE]ขออนุญาต​ เลอะเทอะ...... นี่ผมคุยกับอะไรอยู่วะเนี่ย
อ่านกำลังเพลินๆ เจอภาษาเยอรมัน (เดา) ปิดท้ายเข้าไป รู้สึกตะหงิดๆเลย

เหมือนอยากจะขิงยังไงก็ไม่รู้
โพสต์บนแอป Soccersuck บน iOS
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
ปลายอาชีพค้าแข้ง
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 13 Jun 2009
ตอบ: 54044
ที่อยู่: Capital of Country Music
โพสเมื่อ: Sat Dec 03, 2022 17:58
ขออนุญาต​ เลอะเทอะ...... นี่ผมคุยกับอะไรอยู่วะเนี่ย
ไปเรื่อยนะเราอะ

โพสต์บนแอป Soccersuck บน Android
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ไปหน้าที่ 1, 2, 3
ไปที่หน้า
GO
ตั้งกระทู้ใหม่
กรุณาระบุเหตุผลที่จะแจ้งความ
ผู้ต้องหา:
ข้อความ:
Submit
Cancel
กรุณาเลือก Forum และ ประเภทกระทู้
Forum:

ประเภท:
Submit
Cancel