BLOG BOARD_B
ติดต่อรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ Email: sale@soccersuck.com
ไว้คราวหน้า X
ไว้คราวหน้า X
ไม่ต้องแสดงข้อความนี้อีกเลย
ไปหน้าที่ 1
ไปที่หน้า
GO
ตั้งกระทู้ใหม่
ฝากรูป
ผู้ตั้ง
ข้อความ
ออนไลน์
ปลายอาชีพค้าแข้ง
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 10 Nov 2008
ตอบ: 26785
ที่อยู่: กระป๋อง
โพสเมื่อ: Fri Jan 03, 2025 09:32
ส่งเมลหาตัวเองแบบนี้มิจมันทำยังไงครับ
เมื่อเช้ากดเข้าไปดูใน Junk ก็เจอเมลนี้ เป็นเมลที่ส่งจากตัวเองหาตัวเอง (มิจมันคงอยากสื่อว่ากุเข้าเมลมึงได้นะ)

มันดูน่าเชื่อถืออยู่นะ เพราะพอเอาเมาส์ไปชี้ที่เมลคนส่งก็คือเมลผมจริงๆ

แต่อีกใจก็เข้าใจว่ามันคงเป็นเมลหลอกลวง มันน่าจะเข้ามาในเมลผมได้จริงๆ เพราะเข้าไปดูใน Sent Box ไม่มีเมลนี้อยู่ ในถังขยะก็ไม่มี แล้วเนื้อหาก็ไม่ได้เฉพาะเจาะจง แปลว่าคงส่งแบบหว่านๆไป

แต่สงสัยว่ามิจมันทำได้ยังไงที่ทำเหมือนผมส่งเมลหาตัวเองแบบนี้


0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
โหวตเป็นกระทู้แนะนำ
ออฟไลน์
ดาวซัลโวฟุตบอลโลก
Status: ล่องลอย ดั่งเมฆา
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 15 Aug 2009
ตอบ: 17038
ที่อยู่: ตามร้านค้าทั่วไป
โพสเมื่อ: Fri Jan 03, 2025 09:35
[RE: ส่งเมลหาตัวเองแบบนี้มิจมันทำยังไงครับ]
ผมก็โดน ส่งเมลมาแบบนี้แหละ ผมไม่สนใจ แฮคก็แฮคไปไม่มีอะไรในคอมมีแต่เกมส์กับอ่านนิยาย


หนังเดี๋ยวนี้ก็ไม่ได้โหลดมาแล้วดูออนไลน์เอา
1
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
นักเตะท้ายซอย
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 28 Dec 2017
ตอบ: 731
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Fri Jan 03, 2025 09:43
ส่งเมลหาตัวเองแบบนี้มิจมันทำยังไงครับ
ถ้ามีเมลแบบนี้แสดงว่ามันเข้า mail คุณได้
ผมก็เคยโดน
แก้โดยการเปลี่ยนรหัสเมล
ทำ 2 factor จากนั้นไม่มีมาอีกเลย

บางทีเราตั้งรหัสที่เดาง่ายเกินไป
รวมถึง password mail เราหลุด
คือสามารถหา password email เราจาก internet ได้
โพสต์บนแอป Soccersuck บน Android
แก้ไขล่าสุดโดย panumas05 เมื่อ Fri Jan 03, 2025 09:44, ทั้งหมด 1 ครั้ง
1
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
นักบอลถ้วย ง.
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 28 Feb 2022
ตอบ: 1177
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Fri Jan 03, 2025 09:47
[RE: ส่งเมลหาตัวเองแบบนี้มิจมันทำยังไงครับ]
มันไม่ได้แฮ็คอีเมล์เราครับ

อีเมล์เนี่ยมันเป็นโปรโตคอลมาตรฐาน เพื่อให้ทุกคนใช้ร่วมกันได้ (คนที่รันเซิฟเวอร์อีเมล์เช่นกูเกิ้ล ไมโครซอฟท์ ฯลฯ มันจะเชื่อมต่อกันเป็นเน็ทเวิร์ค) มันจะกำหนดไว้ว่าเนื้อหาอีเมล์จะมีโครงสร้างแบบนี้ๆ มีข้อมูลส่วนต่างๆแบบนี้ๆ

ซึ่งข้อมูลว่าผู้ส่งเป็นใครก็เป็นส่วนหนึ่งของอีเมล ซึ่งไอ้ตรงเนี้ย มิจมันใส่ข้อมูลเป็นอะไรก็ได้ มันก็ใส่เป็นอันเดียวกับผู้รับไงครับ
2
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
นักบอลถ้วย ค.
Status: KEEP THE BLUE FLAG FLYING HIGH!!
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 05 Apr 2008
ตอบ: 4912
ที่อยู่: Stamford Bridge
โพสเมื่อ: Fri Jan 03, 2025 10:27
[RE: ส่งเมลหาตัวเองแบบนี้มิจมันทำยังไงครับ]
ผมเคยได้รับอีเมลพวกนี้เยอะมาก แต่ก็ ignore ไปครับ เพราะถ้ามันแฮกสำเร็จจริง มันคงเอาไปทำอย่างอื่นแล้ว ไม่ต้องส่งมาขู่อะไร ตราบใดที่เรามั่นใจว่า password และระบบ 2 ชั้น เราแข็งแรงพอ ก็สบายใจได้ระดับนึงครับ

ข้างล่างนี้ ลองถาม ChatGPT เกี่ยวกับการทำงานดูครับ

----------------------------------------------------------

อีเมลฟิชชิง (phishing email) ที่มิจฉาชีพส่งมาเพื่อข่มขู่และหวังผลประโยชน์ โดยใช้ชื่ออีเมลเดียวกับผู้รับ (หรือที่เรียกว่า email spoofing) มีหลักการทำงานที่ไม่ได้แสดงถึงการแฮกอีเมลของเหยื่อสำเร็จจริงๆ แต่ใช้เทคนิคการปลอมแปลง (spoofing) เพื่อหลอกลวงผู้รับให้เชื่อว่าบัญชีอีเมลของตนถูกเจาะระบบแล้ว รายละเอียดดังนี้:

หลักการทำงานของ email spoofing
Spoil

1.การปลอมที่อยู่ผู้ส่ง (Sender Address Spoofing):
- มิจฉาชีพใช้โปรโตคอล SMTP (Simple Mail Transfer Protocol) ซึ่งไม่ได้ออกแบบมาให้มีการตรวจสอบความถูกต้องของผู้ส่งในระดับสูง
- พวกเขาสามารถตั้งค่าที่อยู่ผู้ส่งให้ดูเหมือนว่าอีเมลนั้นมาจากบัญชีของผู้รับ (self-addressed email) เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือหรือความตื่นตระหนก

2.การส่งเนื้อหาอีเมลที่น่าเชื่อถือ:
- อีเมลเหล่านี้มักจะมีข้อความข่มขู่ เช่น อ้างว่าพวกเขาเจาะบัญชีอีเมลของคุณสำเร็จ หรือได้ติดตั้งมัลแวร์เพื่อเข้าถึงข้อมูลส่วนตัว เช่น รูปภาพ วิดีโอ หรือรหัสผ่าน
- บางครั้งมิจฉาชีพอาจใส่รหัสผ่านที่เคยรั่วไหลบนอินเทอร์เน็ตเพื่อเพิ่มความน่าเชื่อถือ (แต่รหัสผ่านนั้นมักมาจากฐานข้อมูลที่เคยถูกแฮก ไม่ใช่เพราะแฮกคุณจริงๆ)

3.การเรียกเงินค่าไถ่:
- มักเรียกค่าไถ่เป็นสกุลเงินดิจิทัล เช่น Bitcoin เพื่อไม่ให้ตามรอยธุรกรรมได้
- เนื้อหาจะเร่งให้ผู้รับรู้สึกกดดัน เช่น ระบุว่าต้องจ่ายเงินภายใน 24-48 ชั่วโมง

4.การใช้เทคนิคทางจิตวิทยา (Psychological Manipulation):
- การใช้อีเมลที่เหมือนของตัวเองและข้อความข่มขู่จะทำให้เหยื่อรู้สึกตกใจและไม่ทันได้ไตร่ตรองว่าสิ่งที่เกิดขึ้นจริงหรือไม่
- หลายคนตกใจจนยอมจ่ายเงินโดยไม่ตรวจสอบข้อเท็จจริง  


ความจริงเกี่ยวกับ email spoofing
Spoil

- การที่มิจฉาชีพปลอมอีเมลมาเหมือนกับของคุณไม่ได้หมายความว่าบัญชีของคุณถูกแฮกสำเร็จ แต่เป็นเพียงการหลอกลวงด้วยเทคนิคการปลอมที่อยู่ผู้ส่ง
- มิจฉาชีพไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลในอีเมลหรือบัญชีของคุณได้จริง หากพวกเขาไม่มีรหัสผ่านหรือสิทธิ์การเข้าถึงที่แท้จริง  


วิธีป้องกันและจัดการ
Spoil

1.ตรวจสอบหัวข้อและรายละเอียดของอีเมล:
- ดูที่ส่วนของ Email Header เพื่อเช็กว่าอีเมลถูกส่งมาจากเซิร์ฟเวอร์ที่น่าเชื่อถือหรือไม่
- หากไม่มั่นใจ ให้ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญด้าน IT

2.ตั้งค่าความปลอดภัยเพิ่มเติม:
- ใช้ SPF, DKIM, และ DMARC ในการป้องกัน email spoofing บนโดเมนที่คุณใช้งาน
- เปิดใช้งาน Two-Factor Authentication (2FA) สำหรับอีเมลของคุณ

3.อย่าตกใจและอย่าจ่ายเงินค่าไถ่:
- การจ่ายเงินไม่ช่วยแก้ปัญหา แต่กลับสนับสนุนให้มิจฉาชีพทำต่อ
- แจ้งอีเมลดังกล่าวไปยังผู้ให้บริการอีเมล (เช่น Gmail, Outlook)

4.อัปเดตรหัสผ่านและใช้งานรหัสผ่านที่แข็งแกร่ง:
- หากรหัสผ่านเคยรั่วไหลบนอินเทอร์เน็ต ให้เปลี่ยนรหัสผ่านทันที
- ใช้รหัสผ่านที่ซับซ้อนและไม่ซ้ำกันในแต่ละบริการ  

2
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
โจ ชิลด์ส คือ แมวมอง.. โจริญ คือ ความรัก

ออฟไลน์
นักบอลถ้วย ง.
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 28 Feb 2022
ตอบ: 1177
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Fri Jan 03, 2025 10:41
[RE: ส่งเมลหาตัวเองแบบนี้มิจมันทำยังไงครับ]
Spoil
Necrolas พิมพ์ว่า:
ผมเคยได้รับอีเมลพวกนี้เยอะมาก แต่ก็ ignore ไปครับ เพราะถ้ามันแฮกสำเร็จจริง มันคงเอาไปทำอย่างอื่นแล้ว ไม่ต้องส่งมาขู่อะไร ตราบใดที่เรามั่นใจว่า password และระบบ 2 ชั้น เราแข็งแรงพอ ก็สบายใจได้ระดับนึงครับ

ข้างล่างนี้ ลองถาม ChatGPT เกี่ยวกับการทำงานดูครับ

----------------------------------------------------------

อีเมลฟิชชิง (phishing email) ที่มิจฉาชีพส่งมาเพื่อข่มขู่และหวังผลประโยชน์ โดยใช้ชื่ออีเมลเดียวกับผู้รับ (หรือที่เรียกว่า email spoofing) มีหลักการทำงานที่ไม่ได้แสดงถึงการแฮกอีเมลของเหยื่อสำเร็จจริงๆ แต่ใช้เทคนิคการปลอมแปลง (spoofing) เพื่อหลอกลวงผู้รับให้เชื่อว่าบัญชีอีเมลของตนถูกเจาะระบบแล้ว รายละเอียดดังนี้:

หลักการทำงานของ email spoofing
Spoil

1.การปลอมที่อยู่ผู้ส่ง (Sender Address Spoofing):
- มิจฉาชีพใช้โปรโตคอล SMTP (Simple Mail Transfer Protocol) ซึ่งไม่ได้ออกแบบมาให้มีการตรวจสอบความถูกต้องของผู้ส่งในระดับสูง
- พวกเขาสามารถตั้งค่าที่อยู่ผู้ส่งให้ดูเหมือนว่าอีเมลนั้นมาจากบัญชีของผู้รับ (self-addressed email) เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือหรือความตื่นตระหนก

2.การส่งเนื้อหาอีเมลที่น่าเชื่อถือ:
- อีเมลเหล่านี้มักจะมีข้อความข่มขู่ เช่น อ้างว่าพวกเขาเจาะบัญชีอีเมลของคุณสำเร็จ หรือได้ติดตั้งมัลแวร์เพื่อเข้าถึงข้อมูลส่วนตัว เช่น รูปภาพ วิดีโอ หรือรหัสผ่าน
- บางครั้งมิจฉาชีพอาจใส่รหัสผ่านที่เคยรั่วไหลบนอินเทอร์เน็ตเพื่อเพิ่มความน่าเชื่อถือ (แต่รหัสผ่านนั้นมักมาจากฐานข้อมูลที่เคยถูกแฮก ไม่ใช่เพราะแฮกคุณจริงๆ)

3.การเรียกเงินค่าไถ่:
- มักเรียกค่าไถ่เป็นสกุลเงินดิจิทัล เช่น Bitcoin เพื่อไม่ให้ตามรอยธุรกรรมได้
- เนื้อหาจะเร่งให้ผู้รับรู้สึกกดดัน เช่น ระบุว่าต้องจ่ายเงินภายใน 24-48 ชั่วโมง

4.การใช้เทคนิคทางจิตวิทยา (Psychological Manipulation):
- การใช้อีเมลที่เหมือนของตัวเองและข้อความข่มขู่จะทำให้เหยื่อรู้สึกตกใจและไม่ทันได้ไตร่ตรองว่าสิ่งที่เกิดขึ้นจริงหรือไม่
- หลายคนตกใจจนยอมจ่ายเงินโดยไม่ตรวจสอบข้อเท็จจริง  


ความจริงเกี่ยวกับ email spoofing
Spoil

- การที่มิจฉาชีพปลอมอีเมลมาเหมือนกับของคุณไม่ได้หมายความว่าบัญชีของคุณถูกแฮกสำเร็จ แต่เป็นเพียงการหลอกลวงด้วยเทคนิคการปลอมที่อยู่ผู้ส่ง
- มิจฉาชีพไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลในอีเมลหรือบัญชีของคุณได้จริง หากพวกเขาไม่มีรหัสผ่านหรือสิทธิ์การเข้าถึงที่แท้จริง  


วิธีป้องกันและจัดการ
Spoil

1.ตรวจสอบหัวข้อและรายละเอียดของอีเมล:
- ดูที่ส่วนของ Email Header เพื่อเช็กว่าอีเมลถูกส่งมาจากเซิร์ฟเวอร์ที่น่าเชื่อถือหรือไม่
- หากไม่มั่นใจ ให้ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญด้าน IT

2.ตั้งค่าความปลอดภัยเพิ่มเติม:
- ใช้ SPF, DKIM, และ DMARC ในการป้องกัน email spoofing บนโดเมนที่คุณใช้งาน
- เปิดใช้งาน Two-Factor Authentication (2FA) สำหรับอีเมลของคุณ

3.อย่าตกใจและอย่าจ่ายเงินค่าไถ่:
- การจ่ายเงินไม่ช่วยแก้ปัญหา แต่กลับสนับสนุนให้มิจฉาชีพทำต่อ
- แจ้งอีเมลดังกล่าวไปยังผู้ให้บริการอีเมล (เช่น Gmail, Outlook)

4.อัปเดตรหัสผ่านและใช้งานรหัสผ่านที่แข็งแกร่ง:
- หากรหัสผ่านเคยรั่วไหลบนอินเทอร์เน็ต ให้เปลี่ยนรหัสผ่านทันที
- ใช้รหัสผ่านที่ซับซ้อนและไม่ซ้ำกันในแต่ละบริการ  

 
 

เนี่ยผมถึงไม่ค่อยชอบเวลาใช้ข้อมูลจาก Chatgpt มาตอบ เพราะมันจะถูกบ้างผิดบ้างปนๆกันไป แต่ถ้าไม่รู้ก็คือไม่รู้ว่าตรงไหนถูกตรงไหนผิด
phishing email ไม่เกี่ยวกับที่จขกท.โดนเลย
phishing email คืออีเมล์ที่มาหลอกเอา credential เช่นข้อมูลล็อกอินต่างๆ โดยทำหน้าตาให้อีเมล์เหมือนบริษัทหรือเว็บต่างๆ เช่นเวลามาบอกให้อัพเดทข้อมูลของบัญชี apple หรือข้อมูลบัญชีธนาคารออนไลน์ โดยเป้าหมายคือให้เรากดลิงค์แล้วกรอกข้อมูลล็อกอิน เพราะนึกว่าล็อกอินกับเว็บนั้นๆของจริง

ที่จขกท.โดนคือ email spoofing คือหลอกว่าผู้ส่งเป็นคนอื่น ไม่ใช่คนส่งจริงๆ
ส่วนจะ spoof ไปทำไมก็แล้วแต่ อย่างของจขกท. (อันนี้ผมก็โดน น่าจะโดนกันทั้งโลกแล้วมั้ง )
เพื่อให้เราตกใจนึกว่าเข้าอีเมล์เราได้แล้วให้เราจ่ายคริปโตให้มัน
4
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
นักบอลถ้วย ค.
Status: KEEP THE BLUE FLAG FLYING HIGH!!
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 05 Apr 2008
ตอบ: 4912
ที่อยู่: Stamford Bridge
โพสเมื่อ: Fri Jan 03, 2025 11:46
[RE: ส่งเมลหาตัวเองแบบนี้มิจมันทำยังไงครับ]
toei1 พิมพ์ว่า:
Spoil
Necrolas พิมพ์ว่า:
ผมเคยได้รับอีเมลพวกนี้เยอะมาก แต่ก็ ignore ไปครับ เพราะถ้ามันแฮกสำเร็จจริง มันคงเอาไปทำอย่างอื่นแล้ว ไม่ต้องส่งมาขู่อะไร ตราบใดที่เรามั่นใจว่า password และระบบ 2 ชั้น เราแข็งแรงพอ ก็สบายใจได้ระดับนึงครับ

ข้างล่างนี้ ลองถาม ChatGPT เกี่ยวกับการทำงานดูครับ

----------------------------------------------------------

อีเมลฟิชชิง (phishing email) ที่มิจฉาชีพส่งมาเพื่อข่มขู่และหวังผลประโยชน์ โดยใช้ชื่ออีเมลเดียวกับผู้รับ (หรือที่เรียกว่า email spoofing) มีหลักการทำงานที่ไม่ได้แสดงถึงการแฮกอีเมลของเหยื่อสำเร็จจริงๆ แต่ใช้เทคนิคการปลอมแปลง (spoofing) เพื่อหลอกลวงผู้รับให้เชื่อว่าบัญชีอีเมลของตนถูกเจาะระบบแล้ว รายละเอียดดังนี้:

หลักการทำงานของ email spoofing
Spoil

1.การปลอมที่อยู่ผู้ส่ง (Sender Address Spoofing):
- มิจฉาชีพใช้โปรโตคอล SMTP (Simple Mail Transfer Protocol) ซึ่งไม่ได้ออกแบบมาให้มีการตรวจสอบความถูกต้องของผู้ส่งในระดับสูง
- พวกเขาสามารถตั้งค่าที่อยู่ผู้ส่งให้ดูเหมือนว่าอีเมลนั้นมาจากบัญชีของผู้รับ (self-addressed email) เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือหรือความตื่นตระหนก

2.การส่งเนื้อหาอีเมลที่น่าเชื่อถือ:
- อีเมลเหล่านี้มักจะมีข้อความข่มขู่ เช่น อ้างว่าพวกเขาเจาะบัญชีอีเมลของคุณสำเร็จ หรือได้ติดตั้งมัลแวร์เพื่อเข้าถึงข้อมูลส่วนตัว เช่น รูปภาพ วิดีโอ หรือรหัสผ่าน
- บางครั้งมิจฉาชีพอาจใส่รหัสผ่านที่เคยรั่วไหลบนอินเทอร์เน็ตเพื่อเพิ่มความน่าเชื่อถือ (แต่รหัสผ่านนั้นมักมาจากฐานข้อมูลที่เคยถูกแฮก ไม่ใช่เพราะแฮกคุณจริงๆ)

3.การเรียกเงินค่าไถ่:
- มักเรียกค่าไถ่เป็นสกุลเงินดิจิทัล เช่น Bitcoin เพื่อไม่ให้ตามรอยธุรกรรมได้
- เนื้อหาจะเร่งให้ผู้รับรู้สึกกดดัน เช่น ระบุว่าต้องจ่ายเงินภายใน 24-48 ชั่วโมง

4.การใช้เทคนิคทางจิตวิทยา (Psychological Manipulation):
- การใช้อีเมลที่เหมือนของตัวเองและข้อความข่มขู่จะทำให้เหยื่อรู้สึกตกใจและไม่ทันได้ไตร่ตรองว่าสิ่งที่เกิดขึ้นจริงหรือไม่
- หลายคนตกใจจนยอมจ่ายเงินโดยไม่ตรวจสอบข้อเท็จจริง  


ความจริงเกี่ยวกับ email spoofing
Spoil

- การที่มิจฉาชีพปลอมอีเมลมาเหมือนกับของคุณไม่ได้หมายความว่าบัญชีของคุณถูกแฮกสำเร็จ แต่เป็นเพียงการหลอกลวงด้วยเทคนิคการปลอมที่อยู่ผู้ส่ง
- มิจฉาชีพไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลในอีเมลหรือบัญชีของคุณได้จริง หากพวกเขาไม่มีรหัสผ่านหรือสิทธิ์การเข้าถึงที่แท้จริง  


วิธีป้องกันและจัดการ
Spoil

1.ตรวจสอบหัวข้อและรายละเอียดของอีเมล:
- ดูที่ส่วนของ Email Header เพื่อเช็กว่าอีเมลถูกส่งมาจากเซิร์ฟเวอร์ที่น่าเชื่อถือหรือไม่
- หากไม่มั่นใจ ให้ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญด้าน IT

2.ตั้งค่าความปลอดภัยเพิ่มเติม:
- ใช้ SPF, DKIM, และ DMARC ในการป้องกัน email spoofing บนโดเมนที่คุณใช้งาน
- เปิดใช้งาน Two-Factor Authentication (2FA) สำหรับอีเมลของคุณ

3.อย่าตกใจและอย่าจ่ายเงินค่าไถ่:
- การจ่ายเงินไม่ช่วยแก้ปัญหา แต่กลับสนับสนุนให้มิจฉาชีพทำต่อ
- แจ้งอีเมลดังกล่าวไปยังผู้ให้บริการอีเมล (เช่น Gmail, Outlook)

4.อัปเดตรหัสผ่านและใช้งานรหัสผ่านที่แข็งแกร่ง:
- หากรหัสผ่านเคยรั่วไหลบนอินเทอร์เน็ต ให้เปลี่ยนรหัสผ่านทันที
- ใช้รหัสผ่านที่ซับซ้อนและไม่ซ้ำกันในแต่ละบริการ  

 
 

เนี่ยผมถึงไม่ค่อยชอบเวลาใช้ข้อมูลจาก Chatgpt มาตอบ เพราะมันจะถูกบ้างผิดบ้างปนๆกันไป แต่ถ้าไม่รู้ก็คือไม่รู้ว่าตรงไหนถูกตรงไหนผิด
phishing email ไม่เกี่ยวกับที่จขกท.โดนเลย
phishing email คืออีเมล์ที่มาหลอกเอา credential เช่นข้อมูลล็อกอินต่างๆ โดยทำหน้าตาให้อีเมล์เหมือนบริษัทหรือเว็บต่างๆ เช่นเวลามาบอกให้อัพเดทข้อมูลของบัญชี apple หรือข้อมูลบัญชีธนาคารออนไลน์ โดยเป้าหมายคือให้เรากดลิงค์แล้วกรอกข้อมูลล็อกอิน เพราะนึกว่าล็อกอินกับเว็บนั้นๆของจริง

ที่จขกท.โดนคือ email spoofing คือหลอกว่าผู้ส่งเป็นคนอื่น ไม่ใช่คนส่งจริงๆ
ส่วนจะ spoof ไปทำไมก็แล้วแต่ อย่างของจขกท. (อันนี้ผมก็โดน น่าจะโดนกันทั้งโลกแล้วมั้ง )
เพื่อให้เราตกใจนึกว่าเข้าอีเมล์เราได้แล้วให้เราจ่ายคริปโตให้มัน  


ขอบคุณสำหรับการช่วยเสริมข้อมูลครับ ถ้าข้อมูลผิดพลาดก็ขออภัยครับ แต่เห็นด้วยครับ ChatGPT คงใช้เป็น guide ได้ แต่คงเชื่อถือไม่ได้ทั้งหมด data ที่นำไป train ก็เกิดจากมนุษย์ อาจจะมีทั้งถูกและผิด รวมๆ กันไปครับ
2
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
โจ ชิลด์ส คือ แมวมอง.. โจริญ คือ ความรัก

ออฟไลน์
ปลายอาชีพค้าแข้ง
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 04 Sep 2013
ตอบ: 57613
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Fri Jan 03, 2025 15:58
[RE: ส่งเมลหาตัวเองแบบนี้มิจมันทำยังไงครับ]
panumas05 พิมพ์ว่า:
ถ้ามีเมลแบบนี้แสดงว่ามันเข้า mail คุณได้
ผมก็เคยโดน
แก้โดยการเปลี่ยนรหัสเมล
ทำ 2 factor จากนั้นไม่มีมาอีกเลย

บางทีเราตั้งรหัสที่เดาง่ายเกินไป
รวมถึง password mail เราหลุด
คือสามารถหา password email เราจาก internet ได้  


ไม่ใช่ครับ เมลแบบนี้ทำได้ง่ายมากๆเลย มันคือการใช้ SMTP เป็นการปลอมที่อยู่ผู้ส่งอ่ะ เอาแบบง่ายๆก็คือเราอยากจะกรอกเมลว่าใครเป็นผู้ส่งก็กรอกได้หมด

เคสท่านกับจขกทเขาก็แค่เอาเมลที่จะส่งไปหากับเมลผู้ส่งกรอกเมลเดียวกันเพื่อหลอกว่าสามารถเข้าเมลท่านได้ ให้ยอมจ่ายเงินมา อันนี้คือปล่อยผ่านได้เลยครับ ไม่ต้องไปสนใจ มันทำอะไรไม่ได้หรอก

ส่วนถ้าจะเช็คให้แน่ใจว่าเขาส่งจากเมลเราจริงไหม ก็ต้องดูที่ sent mail ของเราเลย ถ้าไม่เจอก็ไม่ได้เข้ามาส่งจากเมลเราแน่ๆครับ
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ไปหน้าที่ 1
ไปที่หน้า
GO
ตั้งกระทู้ใหม่
กรุณาระบุเหตุผลที่จะแจ้งความ
ผู้ต้องหา:
ข้อความ:
Submit
Cancel
กรุณาเลือก Forum และ ประเภทกระทู้
Forum:

ประเภท:
Submit
Cancel