BLOG BOARD_B
ติดต่อรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ Email: sale@soccersuck.com
ไว้คราวหน้า X
ไว้คราวหน้า X
ไม่ต้องแสดงข้อความนี้อีกเลย
ไปหน้าที่ 1, 2
ไปที่หน้า
GO
ตั้งกระทู้ใหม่
ฝากรูป
ผู้ตั้ง
ข้อความ
ออฟไลน์
ดาวซัลโวยุโรป
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 24 Jun 2019
ตอบ: 9786
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Mon Jun 26, 2023 09:52
[RE: แบตSolid-State Toyotaชาจ10นาทีวิ่งได้1,000โล]
ูปัญหาฟิสิกส์จะแก้ยังไงหว่า ยังไงกำลังไฟมันก็เป็นไปตาม P = IV อยู่แล้ว

ถ้า P สูงขนาดที่ชาร์จ 10 นาทีใช้งาน 1,000 กม. ก็มีแค่ 2 ทาง

I เยอะ = กระแสเยอะ ความร้อนในสายเยอะ
V เยอะ = แรงดันเยอะ สายต้องเส้นใหญ่มาก และระบบแปลงไฟจากไฟบ้าน 110-220v อีก แล้วมันจะกลายเป็นระบบไฟฟ้ากำลังสูงที่ต้องมีการดูแลรักษาและติดตั้งที่ดีมาก ถ้าจะเอามาปะไว้ที่บ้าน
แก้ไขล่าสุดโดย SlayerMetal เมื่อ Mon Jun 26, 2023 09:53, ทั้งหมด 1 ครั้ง
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
นักเตะเทศบาล
Status: อย่ายุ่งกับกู
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 05 Nov 2007
ตอบ: 7275
ที่อยู่: ดอยหมึง
โพสเมื่อ: Mon Jun 26, 2023 09:55
[RE: แบตSolid-State Toyotaชาจ10นาทีวิ่งได้1,000โล]
มันจะเป็นระเบิดเคลื่อนที่มั้ยอ่ะ

0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ไม่มีความผิดใดในโลกใบนี้ ที่ความรักให้อภัยไม่ได้
ออฟไลน์
นักบอลถ้วย ค.
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 14 Aug 2012
ตอบ: 3701
ที่อยู่: BKK Thailand.
โพสเมื่อ: Mon Jun 26, 2023 10:06
[RE: แบตSolid-State Toyotaชาจ10นาทีวิ่งได้1,000โล]
PipePuPee พิมพ์ว่า:
อ้าวว ไหนตอนเเรกมีข่าวบอกว่าไม่สน EV เเล้วจะข้ามไปพลังงานไฮโดรเจน
ไหงกลับมาผลิตรถ EV ผลิตเเบตเเล้วหละ งง  


งงเป็นเพื่อน.
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
นักบอลถ้วย ค.
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 14 Aug 2012
ตอบ: 3701
ที่อยู่: BKK Thailand.
โพสเมื่อ: Mon Jun 26, 2023 10:10
[RE: แบตSolid-State Toyotaชาจ10นาทีวิ่งได้1,000โล]
BEER&MHEE พิมพ์ว่า:
สายไฟที่ใช้ชาท ตัวเสียบตัวรับหน้าสัมผัสต้องใหญ่แน่นมากๆ ชาทไวแบทก็น่าจะเสี่ยงระเบิดเพิ่มมากขึ้น

แต่ถ้าทำได้จริงก็น่าจะ2ล้าน+มั้ย ผมก็ไม่มีตังซื้ออยุ่ดี ซื้อได้เต็มที่คันไม่เกินล้าน กว่าราคาจะเริ่มถูกสงสัย

เค้าเปลี่ยนไปรถไฮโดรเจนกันละ

 


เคยได้ยินไอเดียเรื่องแผ่นชาทใต้รถครับ หน้าสำผัสแทบจะ 1*1 เมตร เขาอาจจะมองความเป็นไปได้จากตรงนี้ครับ.
ข้างในไม่ได้ใหญ่เบิ้มนะ แต่น่าจะมีหลายๆหัวมาขนานกัน.
1
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
นักบอลถ้วย ก.
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 03 Feb 2021
ตอบ: 1615
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Mon Jun 26, 2023 10:15
[RE: แบตSolid-State Toyotaชาจ10นาทีวิ่งได้1,000โล]
โลกแห่งความจริง

พี่โต บอกว่า ชาร์จ10นาที วิ่งได้1,000กิโล

ตอนนี้แบตความจุ 1kWh วิ่งได้ 6 กิโล
ดังนั้น จะวิ่งให้ได้ 1,000กิโล ต้องใช้แบต
1,600 kWh (พี่โต บอกว่าพัฒนาแบต
ไม่ได้พัฒนาประสิทธิภาพการใช้ไฟ)

พี่โตบอกว่าชาร์จ10นาที ดังนั้นใน10นาทีนี้
ต้องยัดไฟเข้าแบตให้ได้เต็ม คำนวนตามสูตร
ออกมา เท่ากับ ต้องใช้ไฟ 4300 แอมป์
(คิดที่ 220V) ในการชาร์จ

บ้านทั่วๆไปใช้ไฟได้ไม่เกิน 30A
บ้านที่มีรถไฟฟ้าไปเปลี่ยนมิเตอร์ส่วนใหญ่ก็
ใช้ได้ไม่เกิน 75A มิเตอร์ที่ใหญ่ที่สุดที่การ
ไฟฟ้าไทยมีให้โรงงานใช้ ใช้ได้ 400A

แต่พี่โตต้องการ ใช้ 4300A ต่อการชาร์จไว
รถแค่1คัน

รอดูต่อไป เรื่องต่างๆส่วนใหญ่การพัฒนา
มันจะไปตันที่ข้อจำกัดของฟิสิกส์นี่แหละ
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
นักเตะตำบล
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 22 Apr 2007
ตอบ: 2880
ที่อยู่: อยู่ที่บ้านของ9สาว โป๊ะๆ
โพสเมื่อ: Mon Jun 26, 2023 11:37
[RE: แบตSolid-State Toyotaชาจ10นาทีวิ่งได้1,000โล]
PipePuPee พิมพ์ว่า:
อ้าวว ไหนตอนเเรกมีข่าวบอกว่าไม่สน EV เเล้วจะข้ามไปพลังงานไฮโดรเจน
ไหงกลับมาผลิตรถ EV ผลิตเเบตเเล้วหละ งง  


ต้านกระแสไม่ไหวครับ ceo คนเก่าเลยต้องลาออก
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
นักเตะกลางซอย
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 03 Jul 2021
ตอบ: 2643
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Mon Jun 26, 2023 11:47
[RE: แบตSolid-State Toyotaชาจ10นาทีวิ่งได้1,000โล]
ที่โตโยต้าต้องมาวิจัย Bat S.S. น่าจะเพราะรัฐบาลให้งบสนับสนุนมา 850 M usd แหละ อาจจะให้แกมบังคับ หรือ ให้โควต้าไปทำอย่างอื่นได้ต่อแหละ เลย รีบทิ้ง ไฮโดนเจน มาพัฒนาแบตต่อ
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
นักเตะเทศบาล
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 19 May 2021
ตอบ: 2011
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Mon Jun 26, 2023 12:30
[RE: แบตSolid-State Toyotaชาจ10นาทีวิ่งได้1,000โล]
อาจจะทำได้ แต่ต้นทุนคันละ10ล้าน ไว้โชว์
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
ดาวเตะพรีเมียร์ลีก
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 21 May 2011
ตอบ: 13605
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Mon Jun 26, 2023 12:37
[RE: แบตSolid-State Toyotaชาจ10นาทีวิ่งได้1,000โล]
เดี๋ยว ๆ คนที่บอกว่าโม้นี่ไม่รู้เรื่องอะไรกับแบตแบบ Solid เลยซินะ ทุกวันนี้มันมีคนทำได้แล้วแบบ Nio ของจีน
https://carnewschina.com/2023/02/06/nio-to-launch-150-kwh-semi-solid-state-battery-in-h1-2023-confirms-qin-lihong/
และแบต Solid ในวงการวิจัยคือ ประสิทธิภาพ capacity reliable ดีกว่าแบต Li มาก ๆๆๆๆๆ ข้อเสียคือทำยากและแพงแค่นั้น ณ ตอนนี้

แก้ไขล่าสุดโดย wizmacho เมื่อ Mon Jun 26, 2023 13:02, ทั้งหมด 2 ครั้ง
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
ดาวเตะพรีเมียร์ลีก
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 21 May 2011
ตอบ: 13605
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Mon Jun 26, 2023 13:53
[RE: แบตSolid-State Toyotaชาจ10นาทีวิ่งได้1,000โล]
Limitless พิมพ์ว่า:
โลกแห่งความจริง

พี่โต บอกว่า ชาร์จ10นาที วิ่งได้1,000กิโล

ตอนนี้แบตความจุ 1kWh วิ่งได้ 6 กิโล
ดังนั้น จะวิ่งให้ได้ 1,000กิโล ต้องใช้แบต
1,600 kWh (พี่โต บอกว่าพัฒนาแบต
ไม่ได้พัฒนาประสิทธิภาพการใช้ไฟ)

พี่โตบอกว่าชาร์จ10นาที ดังนั้นใน10นาทีนี้
ต้องยัดไฟเข้าแบตให้ได้เต็ม คำนวนตามสูตร
ออกมา เท่ากับ ต้องใช้ไฟ 4300 แอมป์
(คิดที่ 220V) ในการชาร์จ

บ้านทั่วๆไปใช้ไฟได้ไม่เกิน 30A
บ้านที่มีรถไฟฟ้าไปเปลี่ยนมิเตอร์ส่วนใหญ่ก็
ใช้ได้ไม่เกิน 75A มิเตอร์ที่ใหญ่ที่สุดที่การ
ไฟฟ้าไทยมีให้โรงงานใช้ ใช้ได้ 400A

แต่พี่โตต้องการ ใช้ 4300A ต่อการชาร์จไว
รถแค่1คัน

รอดูต่อไป เรื่องต่างๆส่วนใหญ่การพัฒนา
มันจะไปตันที่ข้อจำกัดของฟิสิกส์นี่แหละ
 


ก่อนอื่นเลยท่านคำนวณผิดนะครับ 1 kWh วิ่งได้ 6 กิโล อ่ะ ผมตีให้ง่าย ๆ 5 km/kWh
ดังนั้น 1000 กิโล มันต้องการพลังงาน 1000/5 = 200 kWh ครับ
แล้วกำลังที่วัดคือกำลังที่ชาร์จรวมทั้ง Battery pack นะครับ แบตส่วนใหญ่เซลล์นึงมัน 4-5 V ตัว ผมยกตัวอย่างกรณีของ Solid state ตอนนี้ Cell นึงได้ 20 Ah/g ตีว่า cell 1 g รับไฟนึง 2.5 V ให้คำนวณง่าย ๆ แปลว่าต่ออนุกรมกัน 4,000 Cells (โดยน้ำหนักรวมคือ 4 kg!) ก็ได้ 200 kWh ตามที่ตั้งไว้ข้างบน ตีแบบง่าย ๆ ว่าต่ออนุกรมกันกระแสวิ่งเท่ากันหมด (จริงมันมีข้อจำกัดเรื่อง pack แต่ผมลอง simplify แบบนี้ก่อน) ทำให้ความต่างศักย์ได้ตั้ง 10 kV ถ้าเอาตามนี้ชาร์จ 10 นาทีก็คือ 6C ต้องใช้กระแส 120 A ซึ่งถือว่าเยอะไปหน่อย อาจจะต้องลด Capacity ให้เป็น 2 Ah/g แทน ก็ได้กระแสประมาณ 12 A แต่เซลล์จะเป็น 2 หมื่นตัว กับไฟเป็น 100 kV แต่ผมยกมาคร่าว ๆ นะครับ ที่พัฒนาตอนนี้คือความจุ Ah/g ตอนนี้หลัก 100 ก็มีแล้ว ยิ่งลดขนาดให้เบาได้ต่อ cell ก็ใช้ไฟเข้าน้อยลง หรือต่อแบบขนานช่วยเพื่อลดกระแสขาเข้าอะไรแบบนี้แทนก็ได้ครับ สรุปคือกระแสขาเข้าไม่ใช่ปัญหาอยู่ที่การออกแบบ Pack กับพวก module ควบคุม (ผมไม่ได้ทำเรื่องนี้เลยไม่แน่ใจข้อจำกัดมากนัก) แต่ในห้องวิจัยเราอัด 10C กับแบตพวกนี้ตัวเล็ก ๆ สบายมากครับ กระแสก็ระดับห้องทดลองทั่วไปเลย
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
นักบอลถ้วย ก.
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 03 Feb 2021
ตอบ: 1615
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Mon Jun 26, 2023 14:22
[RE: แบตSolid-State Toyotaชาจ10นาทีวิ่งได้1,000โล]
wizmacho พิมพ์ว่า:
Limitless พิมพ์ว่า:
โลกแห่งความจริง

พี่โต บอกว่า ชาร์จ10นาที วิ่งได้1,000กิโล

ตอนนี้แบตความจุ 1kWh วิ่งได้ 6 กิโล
ดังนั้น จะวิ่งให้ได้ 1,000กิโล ต้องใช้แบต
1,600 kWh (พี่โต บอกว่าพัฒนาแบต
ไม่ได้พัฒนาประสิทธิภาพการใช้ไฟ)

พี่โตบอกว่าชาร์จ10นาที ดังนั้นใน10นาทีนี้
ต้องยัดไฟเข้าแบตให้ได้เต็ม คำนวนตามสูตร
ออกมา เท่ากับ ต้องใช้ไฟ 4300 แอมป์
(คิดที่ 220V) ในการชาร์จ

บ้านทั่วๆไปใช้ไฟได้ไม่เกิน 30A
บ้านที่มีรถไฟฟ้าไปเปลี่ยนมิเตอร์ส่วนใหญ่ก็
ใช้ได้ไม่เกิน 75A มิเตอร์ที่ใหญ่ที่สุดที่การ
ไฟฟ้าไทยมีให้โรงงานใช้ ใช้ได้ 400A

แต่พี่โตต้องการ ใช้ 4300A ต่อการชาร์จไว
รถแค่1คัน

รอดูต่อไป เรื่องต่างๆส่วนใหญ่การพัฒนา
มันจะไปตันที่ข้อจำกัดของฟิสิกส์นี่แหละ
 


ก่อนอื่นเลยท่านคำนวณผิดนะครับ 1 kWh วิ่งได้ 6 กิโล อ่ะ ผมตีให้ง่าย ๆ 5 km/kWh
ดังนั้น 1000 กิโล มันต้องการพลังงาน 1000/5 = 200 kWh ครับ
แล้วกำลังที่วัดคือกำลังที่ชาร์จรวมทั้ง Battery pack นะครับ แบตส่วนใหญ่เซลล์นึงมัน 4-5 V ตัว ผมยกตัวอย่างกรณีของ Solid state ตอนนี้ Cell นึงได้ 20 Ah/g ตีว่า cell 1 g รับไฟนึง 2.5 V ให้คำนวณง่าย ๆ แปลว่าต่ออนุกรมกัน 4,000 Cells (โดยน้ำหนักรวมคือ 4 kg!) ก็ได้ 200 kWh ตามที่ตั้งไว้ข้างบน ตีแบบง่าย ๆ ว่าต่ออนุกรมกันกระแสวิ่งเท่ากันหมด (จริงมันมีข้อจำกัดเรื่อง pack แต่ผมลอง simplify แบบนี้ก่อน) ทำให้ความต่างศักย์ได้ตั้ง 10 kV ถ้าเอาตามนี้ชาร์จ 10 นาทีก็คือ 6C ต้องใช้กระแส 120 A ซึ่งถือว่าเยอะไปหน่อย อาจจะต้องลด Capacity ให้เป็น 2 Ah/g แทน ก็ได้กระแสประมาณ 12 A แต่เซลล์จะเป็น 2 หมื่นตัว กับไฟเป็น 100 kV แต่ผมยกมาคร่าว ๆ นะครับ ที่พัฒนาตอนนี้คือความจุ Ah/g ตอนนี้หลัก 100 ก็มีแล้ว ยิ่งลดขนาดให้เบาได้ต่อ cell ก็ใช้ไฟเข้าน้อยลง หรือต่อแบบขนานช่วยเพื่อลดกระแสขาเข้าอะไรแบบนี้แทนก็ได้ครับ สรุปคือกระแสขาเข้าไม่ใช่ปัญหาอยู่ที่การออกแบบ Pack กับพวก module ควบคุม (ผมไม่ได้ทำเรื่องนี้เลยไม่แน่ใจข้อจำกัดมากนัก) แต่ในห้องวิจัยเราอัด 10C กับแบตพวกนี้ตัวเล็ก ๆ สบายมากครับ กระแสก็ระดับห้องทดลองทั่วไปเลย  


ผมพิมพ์ผิด จาก 160 kWh ไปเป็น 1600kWh จริง
แต่ผมคำนวนไม่ผิดนะ

ถ้าจะชาร์จ แบต 160 kWh ให้เต็มใน 10 นาที
ต้องใช้ P= 160x6 =960 kW

P=IV
960000=(I)(220)
ดังนั้นจึงต้องใช้กระแส(A) = 4363.64A
หรือ ประมาณ 4300 A จริงๆ

แม้ว่าการอัดกระแสเข้า cell แบตเตอรี่ จะใช้
วิธี อัดที่ Volt สูงได้ แต่กระแสวิ่งตามสายเข้า
มาที่จุดชาร์จแบตก็ยังต้องการ ที่ 4300A อยู่ดี
จะแบ่งเป็น 11-12 มิตเตอร์ เข้ามาทีละ 400A
เพื่อชาร์จก็อาจจะได้แต่ก็ไม่น่าจะสะดวกเท่าไหร่
ในทางปฎิบัติ ผมเข้าใจแบบนี้ถูกรึเปล่าครับ
0
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ออฟไลน์
ดาวเตะพรีเมียร์ลีก
Status:
: 0 ใบ : 0 ใบ
เข้าร่วม: 21 May 2011
ตอบ: 13605
ที่อยู่:
โพสเมื่อ: Mon Jun 26, 2023 18:31
[RE: แบตSolid-State Toyotaชาจ10นาทีวิ่งได้1,000โล]
Limitless พิมพ์ว่า:
wizmacho พิมพ์ว่า:
Limitless พิมพ์ว่า:
โลกแห่งความจริง

พี่โต บอกว่า ชาร์จ10นาที วิ่งได้1,000กิโล

ตอนนี้แบตความจุ 1kWh วิ่งได้ 6 กิโล
ดังนั้น จะวิ่งให้ได้ 1,000กิโล ต้องใช้แบต
1,600 kWh (พี่โต บอกว่าพัฒนาแบต
ไม่ได้พัฒนาประสิทธิภาพการใช้ไฟ)

พี่โตบอกว่าชาร์จ10นาที ดังนั้นใน10นาทีนี้
ต้องยัดไฟเข้าแบตให้ได้เต็ม คำนวนตามสูตร
ออกมา เท่ากับ ต้องใช้ไฟ 4300 แอมป์
(คิดที่ 220V) ในการชาร์จ

บ้านทั่วๆไปใช้ไฟได้ไม่เกิน 30A
บ้านที่มีรถไฟฟ้าไปเปลี่ยนมิเตอร์ส่วนใหญ่ก็
ใช้ได้ไม่เกิน 75A มิเตอร์ที่ใหญ่ที่สุดที่การ
ไฟฟ้าไทยมีให้โรงงานใช้ ใช้ได้ 400A

แต่พี่โตต้องการ ใช้ 4300A ต่อการชาร์จไว
รถแค่1คัน

รอดูต่อไป เรื่องต่างๆส่วนใหญ่การพัฒนา
มันจะไปตันที่ข้อจำกัดของฟิสิกส์นี่แหละ
 


ก่อนอื่นเลยท่านคำนวณผิดนะครับ 1 kWh วิ่งได้ 6 กิโล อ่ะ ผมตีให้ง่าย ๆ 5 km/kWh
ดังนั้น 1000 กิโล มันต้องการพลังงาน 1000/5 = 200 kWh ครับ
แล้วกำลังที่วัดคือกำลังที่ชาร์จรวมทั้ง Battery pack นะครับ แบตส่วนใหญ่เซลล์นึงมัน 4-5 V ตัว ผมยกตัวอย่างกรณีของ Solid state ตอนนี้ Cell นึงได้ 20 Ah/g ตีว่า cell 1 g รับไฟนึง 2.5 V ให้คำนวณง่าย ๆ แปลว่าต่ออนุกรมกัน 4,000 Cells (โดยน้ำหนักรวมคือ 4 kg!) ก็ได้ 200 kWh ตามที่ตั้งไว้ข้างบน ตีแบบง่าย ๆ ว่าต่ออนุกรมกันกระแสวิ่งเท่ากันหมด (จริงมันมีข้อจำกัดเรื่อง pack แต่ผมลอง simplify แบบนี้ก่อน) ทำให้ความต่างศักย์ได้ตั้ง 10 kV ถ้าเอาตามนี้ชาร์จ 10 นาทีก็คือ 6C ต้องใช้กระแส 120 A ซึ่งถือว่าเยอะไปหน่อย อาจจะต้องลด Capacity ให้เป็น 2 Ah/g แทน ก็ได้กระแสประมาณ 12 A แต่เซลล์จะเป็น 2 หมื่นตัว กับไฟเป็น 100 kV แต่ผมยกมาคร่าว ๆ นะครับ ที่พัฒนาตอนนี้คือความจุ Ah/g ตอนนี้หลัก 100 ก็มีแล้ว ยิ่งลดขนาดให้เบาได้ต่อ cell ก็ใช้ไฟเข้าน้อยลง หรือต่อแบบขนานช่วยเพื่อลดกระแสขาเข้าอะไรแบบนี้แทนก็ได้ครับ สรุปคือกระแสขาเข้าไม่ใช่ปัญหาอยู่ที่การออกแบบ Pack กับพวก module ควบคุม (ผมไม่ได้ทำเรื่องนี้เลยไม่แน่ใจข้อจำกัดมากนัก) แต่ในห้องวิจัยเราอัด 10C กับแบตพวกนี้ตัวเล็ก ๆ สบายมากครับ กระแสก็ระดับห้องทดลองทั่วไปเลย  


ผมพิมพ์ผิด จาก 160 kWh ไปเป็น 1600kWh จริง
แต่ผมคำนวนไม่ผิดนะ

ถ้าจะชาร์จ แบต 160 kWh ให้เต็มใน 10 นาที
ต้องใช้ P= 160x6 =960 kW

P=IV
960000=(I)(220)
ดังนั้นจึงต้องใช้กระแส(A) = 4363.64A
หรือ ประมาณ 4300 A จริงๆ

แม้ว่าการอัดกระแสเข้า cell แบตเตอรี่ จะใช้
วิธี อัดที่ Volt สูงได้ แต่กระแสวิ่งตามสายเข้า
มาที่จุดชาร์จแบตก็ยังต้องการ ที่ 4300A อยู่ดี
จะแบ่งเป็น 11-12 มิตเตอร์ เข้ามาทีละ 400A
เพื่อชาร์จก็อาจจะได้แต่ก็ไม่น่าจะสะดวกเท่าไหร่
ในทางปฎิบัติ ผมเข้าใจแบบนี้ถูกรึเปล่าครับ  


อย่างที่ผมคำนวณไปครับ เราจะเอากำลังขาเข้ามาคิดไม่ได้ เพราะมันคือหลักการอัดประจุที่กระแสเท่ากันทั้งเส้น (กรณีต่อแบบอนุกรมนะครับ) ลองดูตัวอย่าง Fast charger ตัวนี้นะครับ
https://www.grasencharge.com/product/dc-fast-charger จริง ๆ ไฟเข้ามาคือไฟ 3 เฟส (แปลว่ากระแสก็ได้ 3 เท่า แต่ไม่เป็นไร) จะเห็นว่าตัวขาออกได้ถึง 1000 VDC เพราะมันคือหลักการทำ Fast charger ไม่ใช่กระแสสลับครับ กระแสสูงสุด 200 A นี่ธรรมดามากเลยนะครับ อย่างที่ผมคำนวณให้ดูคือใช้กระแสหลัก 120 A นี่สบายมาก (แต่กำลังต้องเพิ่มไปอีก) ส่วนขาเข้าที่ท่านบอกว่าต้องใช้ 4000 A ก็ไม่ถูกครับ เอาอย่างตัวอย่างนี้นะครับ
https://calevip.org/electric-vehicle-charging-101 จะเห็นว่ากระแสขาเข้าปัจจุบันได้ระดับ 100 A กับไฟสามเฟส แต่ Output DC มันได้ 1000 VDC กระแสระดับ 500 A ผมอาจจะอธิบายได้ไม่ละเอียด แต่มันไม่ใช่แค่ Transformer มันจะมีวงจร power inverter อ่ะ ที่แบบเรารับ AC มาแล้วคายแบบ DC เต็ม ๆ

ท่านลอง search ว่า EV fast charger ก็ได้ครับ จะเห็นว่า output กระแสทำได้หลัก 100 กันปกติเลย แต่ไม่ใช่เหตุผลที่ว่าต้องใช้หลักพันแอมป์ มันไม่ใช่เพราะว่ามันคือการชาร์จกระแสที่เท่ากันในแต่ละเซลล์ครับ (กรณีต่ออนุกรม) ถึงจะมารวมเป็น Battery pack ก็เลยคิดจาก Ah ของแต่ละเซลล์เท่านั้น (แต่ในความเป็นจริงมันต้องมีต่อขนาน Architect ด้านการจัดการพลังงานมากกว่านั้นครับ) สรุปว่าไฟขาออกมันไม่ใช่ 220 V แบบตัวชาร์จที่บ้านน่ะครับ ส่วนขาเข้าก็ตามที่ผมบอกไปคือมันเป็นไฟสามเฟส AC ที่มาแปลงเป็น DC อีกที

AC to DC คือ Power rectifier ครับ ผมนึกตั้งนาน พอดีผมทำงานเกี่ยวกับ High-voltage ก็เคยสงสัยแบบท่านว่าเครื่องต้องการไฟตั้ง 2 MV (2 ล้านโวลต์) แล้วพวกอุปกรณ์ก็ใช้ไฟตั้ง 10A แล้วทำไมกระแสขาเข้ามันไม่ระดับหลัก 4 หมื่นแอมแปร์เลยหรอ มาเข้าใจว่ามันมี Power triode เป็นตัวแปลงด้วยนี่แหละครับ (แต่จริง ๆ เครื่องพวกนี้ใช้ Motor generator หรือ isolation transformer แยกอีกต่างหาก) รับโหลดหนักกว่าพวก EV charger เยอะ
https://www.jakelectronics.com/blog/ac-to-dc-converter-topologies-for-offboard-ev-fast-charging
แก้ไขล่าสุดโดย wizmacho เมื่อ Mon Jun 26, 2023 18:40, ทั้งหมด 3 ครั้ง
1
0
หากโดน 40 เรื้อน จะถูกแบน
ไปหน้าที่ 1, 2
ไปที่หน้า
GO
ตั้งกระทู้ใหม่
กรุณาระบุเหตุผลที่จะแจ้งความ
ผู้ต้องหา:
ข้อความ:
Submit
Cancel
กรุณาเลือก Forum และ ประเภทกระทู้
Forum:

ประเภท:
Submit
Cancel